การอุทธรณ์คำสั่งไม่ให้ประกันตัวผู้ต้องหรือจำเลย|การอุทธรณ์คำสั่งไม่ให้ประกันตัวผู้ต้องหรือจำเลย

การอุทธรณ์คำสั่งไม่ให้ประกันตัวผู้ต้องหรือจำเลย

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

การอุทธรณ์คำสั่งไม่ให้ประกันตัวผู้ต้องหรือจำเลย

  • Defalut Image

การอุทธรณ์คำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราว ตามมาตรา 119 ทวิ  แบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ

บทความวันที่ 14 ส.ค. 2562, 11:07

มีผู้อ่านทั้งหมด 3300 ครั้ง


การอุทธรณ์คำสั่งไม่ให้ประกันตัวผู้ต้องหรือจำเลย

           การอุทธรณ์คำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราว ตามมาตรา 119 ทวิ  แบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ
          1) คำสั่งไม่อนุญาตของศาลชั้นต้น ให้อุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์
           2) คำสั่งไม่อนุญาตของศาลอุทธรณ์  ให้อุทธรณ์ไปยังศาลฎีกา
              คำสั่งของศาลอุทธรณ์ที่ไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวตามศาลชั้นต้นให้เป็นที่สุดไม่สามารถฎีกาคำสั่งดังกล่าวได้ แต่ผู้ต้องหาหรือจำเลยยังสามารถยื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราวใหม่อีกครั้งได้
           การยื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งตามมาตรา 119 ทวิ นี้ ไม่อยู่ภายใต้บังคับ ป.วิ.อ.มาตรา 198 และ 216 จึงไม่ต้องอุทธรณ์ภายในกำหนด 1 เดือน 
1. คำสั่งคำร้องศาลฎีกาที่ 617/2528
            จำเลยยื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราวชั้นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์มีคำสั่งไม่อนุญาต  จำเลยเป็นผู้ร้องขอตาม ป.วิ.อ.มาตรา 119 ทวิ  ทนายจำเลยจึงมีอำนาจยื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งของศาลอุทธรณ์ได้ การยื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งตามกฎหมายดังกล่าว ไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับแห่ง ป.วิ.อ.มาตรา 198 และมาตรา 216 (ที่จะต้องยื่นภายใน 1 เดือน) ทนายจำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งของศาลอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาได้
2. คำสั่งคำร้องศาลฎีกาที่ 285/2530
              จำเลยยื่นคำร้องขอให้ปล่อยจำเลยชั่วคราวระหว่างอุทธรณ์  ศาลชั้นต้นมีคำสั่งในวันเดียวกันว่า รอไว้สั่งเมื่อยื่นอุทธรณ์ แล้วยกคำร้อง ต่อมาศาลชั้นต้นมีคำสั่งในคำร้องขอให้ปล่อยชั่วคราวฉบับดังกล่าววว่าส่งศาลอุทธรณ์เพื่อพิจารณาเช่นนี้ถือได้ว่า ศาลชั้นต้นไม่เคยมีคำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวระหว่างอุทธรณ์  เมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งตามคำร้องดังกล่าวไม่อนุญาตให้ปล่อยจำเลยชั่วคราวระหว่างอุทธรณ์  จึงมิใช่คำสั่งยืนตามคำสั่งศาลชั้นต้น จำเลยจึงมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งของศาลอุทธรณ์นั้นต่อศาลฎีกาได้ ตามมาตรา 119 ทวิ แห่ง ป.วิ.อ.

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 2

หนูติดหนี้สวนต่างรถยนต์ที่ขายไปค่ะ แต่ซื้อไม่คนค้ำ หนูไมีทรัพย์สินเป็นของตัวเองค่ะเงินในบัญชีธนาคารก็ไม่มีค่ะ จะเป็นอะไรมั้ยคะถ้าหนูไม่ใช้หนี้ทางธนาคาร

โดยคุณ Nipaporn 3 ก.ย. 2562, 14:58

ความคิดเห็นที่ 1

คือดิฉันป่วยแหละมีใบรับรอง​แพทย์​ตั้งแต่วันที่5-13สิงหาคมพอ14ดิฉันไปทำงานปกติแต่ฝ่ายบุคคลเดินมาตามเรียกเข้าไปคุยบอกว่าขาดงานไม่ได้แจ้งหัวหน้างานดิฉันบอกว่าค่ะหนูไม่ได้แจ้งดิฉันเขียนใบลาล่วงหน้าว่าคุณหมอนัดฝ่าฝีที่หัววันที่9แต่มันเกิดปวดมากในวันที่5จึงไปหาหมอก่อนวันที่7คุณหมอเลยผ่าให้หยุดถึง13แต่พอไปทำงานกับโดนบอกว่าให้กับบ้านไปแหละหางานใหม่ทั้งๆที่เรามีใบรับรอง​แพทย์​แบบนี้ต้องทำอย่างไรค่ะ

โดยคุณ วาสนา ดำรงไทย 3 ก.ย. 2562, 08:06

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก