นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ติดคุก 6 เดือน (เทียบเคียงคดีแม่บ้านไม่ได้รับค่าจ้าง จะกระโดดน้ำตายที่จังหวัดตาก)|นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ติดคุก 6 เดือน (เทียบเคียงคดีแม่บ้านไม่ได้รับค่าจ้าง จะกระโดดน้ำตายที่จังหวัดตาก)

นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ติดคุก 6 เดือน (เทียบเคียงคดีแม่บ้านไม่ได้รับค่าจ้าง จะกระโดดน้ำตายที่จังหวัดตาก)

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ติดคุก 6 เดือน (เทียบเคียงคดีแม่บ้านไม่ได้รับค่าจ้าง จะกระโดดน้ำตายที่จังหวัดตาก)

  • Defalut Image

“นายจ้าง” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างเข้าทำงานโดยจ่ายค่าจ้างให้

บทความวันที่ 3 พ.ย. 2562, 11:03

มีผู้อ่านทั้งหมด 911 ครั้ง


นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ติดคุก 6 เดือน (เทียบเคียงคดีแม่บ้านไม่ได้รับค่าจ้าง จะกระโดดน้ำตายที่จังหวัดตาก)

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
มาตรา 5
 ในพระราชบัญญัตินี้
“นายจ้าง” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างเข้าทำงานโดยจ่ายค่าจ้างให้
มาตรา 70  ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุดและเงินที่นายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายตามพระราชบัญญัตินี้ให้ถูกต้องและตามกำหนดเวลา ดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่มีการคำนวณค่าจ้างเป็นรายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือเป็นระยะเวลาอย่างอื่นที่ไม่เกินหนึ่งเดือน หรือตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย ให้จ่ายเดือนหนึ่งไม่น้อยกว่าหนึ่งครั้ง เว้นแต่จะมีการตกลงกันเป็นอย่างอื่นที่เป็นประโยชน์แก่ลูกจ้าง
(2) ในกรณีที่มีการคำนวณค่าจ้าง นอกจาก (1) ให้จ่ายตามกำหนดเวลาที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน
(3) ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และเงินที่นายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายตามพระราชบัญญัตินี้ให้จ่ายเดือนหนึ่งไม่น้อยกว่าหนึ่งครั้ง
ในกรณีที่นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และเงินที่นายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับ ให้แก่ลูกจ้างภายในสามวันนับแต่วันที่เลิกจ้าง
มาตรา 144   นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 2

ไม่มีใครพอจะตอบคำถามได้เลยรึครับ

โดยคุณ THANKS 6 พ.ย. 2562, 14:43

ความคิดเห็นที่ 1

สวัสดีครับ ผมทำงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เป็นพนักงานขับรถมา 5 ปี ไม่เคยได้รับ ค่าล่วงเวลาเลย เพราะเรางานงานก็หวังวิ่งงานเป็นหลักแล้วพอมาตอนไม่มีงาน ก็มากดดันเราโดยการช้มาตราการโน้นนี้ ออกมาบังคับใช้แบบ แบบออกวันนี้อีก7วันตัดสินโทษทัน เพื่อบับให้พนักงานต้องลาออกไปเอง ผมอยากทราบว่าผมสามารถร้องเรียนเอาค่า ล่วงเวลาเราและค่าชดเชยการเลิกจ้างได้มั้ยครับ

โดยคุณ THANKS 4 พ.ย. 2562, 17:27

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก