งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ
ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ
สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ
รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ
เบี้ยขยัน, เงินช่วยค่าอาหารถือว่าเป็นค่าจ้างหรือไม่
เงินค่าเบี้ยขยัน, ช่วยเหลือค่าอาหารและเงินช่วยเหลือค่ารถ (ในกรณีที่พนักงานเอารถมาเอง) ถือเป็นค่าจ้างใช่หรือไม่ มีฎีกาอะไรบอกไหมครับ ที่บริษัทฯ ของผมจะต้องการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ ก่อนที่จะปรับค่าแรง 300฿ ผมก็แนะนำว่า ให้แบ่งพนักงานออกเป็น 2 ส่วน อันแรกคือพนักงานเก่า เราก็เอาสิ่งที่เขาได้รวมเข้าไปในค่าแรงเลย ส่วนพนักงานใหม่ก็ยกเลิกได้ ที่ต้องทำอย่างนี้เพราะค่าใช้จ่ายทั้ง 3 นี้ถือว่าเป็นค่าจ้างไปหักลดไม่ได้ คราวนี้มีคนรู้ดีว่าเลิกได้เลย เพราะไม่ได้เป็นค่าจ้าง ผมก็เลยงง!! ขอเลยขอตัวอย่างฎีกาเกี่ยวกับเรื่องนี้ด้วยครับว่าเป็นอะไร
คำแนะนำสำนักงานทนายความ ทนายคลายทุกข์
ตามบทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน 2541 มาตรา 5 ค่าจ้างต่อเป็นเงินเท่านั้น โดยต้องมีการตกลงค่าจ้างกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในสัญญาจ้าง ซึ่งไม่ว่าสัญญาจ้างนั้นจะทำเป็นหนังสือหรือตกลงด้วยวาจาก็ตาม นอกจากนั้นค่าจ้างต้องจ่ายเพื่อเป็นค่าตอบแทนในการทำงาน โดยต้องเป็นการจ่ายเพื่อตอบแทนการทำงาน สำหรับระยะเวลาทำงานปกติ หากตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ ถือเป็นค่าล่วงเวลา ดังนั้น เบี้ยขยันเป็นที่นายจ้างนำมาจูงใจให้ลูกจ้างทำงานให้แก่ลูกจ้างทำงานให่แก่นายจ้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ที่มีสิทธิได้รับเบี้ยขยันต้องเป็นผู้ไม่ขาดงาน ไม่ลางานไม่มาทำงานสายนายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างต่างหากจากค่าจ้างปกติ เป็นเงินค่าตอบแทนความขยัน มิใช่ค่าจ้าง (ฎีกา 9313-9976/2547) และค่าอาหาร, ค่าพาหนะ ก็ไม่ใช่ค่าจ้างตามนัย (ฎีกา 9016-9043/2549, 8681/2548)