การขอให้ศาลสูงเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลล่าง ทำได้ด้วยการยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาเท่านั้น|การขอให้ศาลสูงเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลล่าง ทำได้ด้วยการยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาเท่านั้น

การขอให้ศาลสูงเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลล่าง ทำได้ด้วยการยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาเท่านั้น

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

การขอให้ศาลสูงเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลล่าง ทำได้ด้วยการยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาเท่านั้น

  • Defalut Image

การขอให้ศาลสูงเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลล่าง โดยอ้างมาในคำแก้อุทธรณ์ หรือคำแก้ฎีกา

บทความวันที่ 23 ม.ค. 2563, 10:05

มีผู้อ่านทั้งหมด 886 ครั้ง


การขอให้ศาลสูงเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลล่าง ทำได้ด้วยการยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาเท่านั้น

               การขอให้ศาลสูงเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลล่าง โดยอ้างมาในคำแก้อุทธรณ์ หรือคำแก้ฎีกา เป็นการไม่ชอบด้วยกฏหมาย ศาลสูงไม่จำต้องพิจารณาพิพากษาดังที่คู่ความโต้แย้งมาในคำแก้อุทธรณ์หรือคำแก้ฎีกา

คำพิพากษาฎีกาที่ 7629/2560
           จำเลยที่ 1 ยื่นคำแก้ฎีกาว่า โจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน เป็นการขอให้ศาลฎีกาเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 2 ซึ่งต้องกระทำโดยการยื่นเป็นคำฟ้องฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 2 มิใช่ขอมาในคำแก้ฎีกา จึงไม่เป็นประเด็นที่ศาลฎีกาต้องวินิจฉัยให้

ตัวบทกฏหมายอ้างอิง
ประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา 237
  จำเลยอุทธรณ์อาจยื่นคำแก้อุทธรณ์ต่อศาลชั้นต้นได้ภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันส่งสำเนาอุทธรณ์
ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ห้ามมิให้ศาลแสดงว่า จำเลยอุทธรณ์ขาดนัดเพราะไม่ยื่นคำแก้อุทธรณ์

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก