นิยามของคำว่าผู้มีส่วนได้เสียในการขอกล่าวอ้างนิติกรรมเป็นโมฆะ|นิยามของคำว่าผู้มีส่วนได้เสียในการขอกล่าวอ้างนิติกรรมเป็นโมฆะ

นิยามของคำว่าผู้มีส่วนได้เสียในการขอกล่าวอ้างนิติกรรมเป็นโมฆะ

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

นิยามของคำว่าผู้มีส่วนได้เสียในการขอกล่าวอ้างนิติกรรมเป็นโมฆะ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3072/2536

บทความวันที่ 24 มี.ค. 2560, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 6904 ครั้ง


 คำพิพากษาฎีกา / นิยามของคำว่าผู้มีส่วนได้เสียในการขอกล่าวอ้างนิติกรรมเป็นโมฆะ

 
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3072/2536 
               เมื่อศาลพิพากษาให้บุคคลใดตกเป็นบุคคลล้มละลายแล้วตราบใดที่ยังไม่มีคำสั่งยกเลิกการล้มละลาย บุคคลนั้นย่อมไม่มีอำนาจกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของตนได้ เว้นแต่จะได้กระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบของศาลเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ผู้จัดการทรัพย์หรือที่ประชุมเจ้าหนี้ ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 24ถ้าฝ่าฝืนนิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ คำว่าผู้มีส่วนได้เสียตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 133 เดิม (มาตรา 172 ใหม่) หมายถึงผู้ที่จะได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ หากนิติกรรมที่กล่าวอ้างว่าเป็นโมฆะเป็นผลหรือไม่เป็นหรือกลับกัน เมื่อโจทก์ทั้งสี่ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดินพิพาทโดยอ้างว่าบิดาโจทก์ทั้งสี่ซื้อที่ดินพิพาทมาจาก ส.ผู้ล้มละลาย ต่อมาบิดาโจทก์ทั้งสี่ถึงแก่กรรม ที่ดินพิพาทเป็นมรดกตกทอดแก่โจทก์ทั้งสี่ และจำเลยให้การต่อสู้ว่าบิดาโจทก์ซื้อที่ดินพิพาทจาก ส.ขณะที่ส. เป็นบุคคลล้มละลาย นิติกรรมซื้อขายเป็นโมฆะโจทก์ทั้งสี่ไม่มีอำนาจฟ้องจำเลย ดังนี้จำเลยจึงเป็นผู้ที่จะได้ประโยชน์จากที่นิติกรรมซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างส. กับบิดาโจทก์ทั้งสี่เป็นโมฆะจำเลยจึงชอบที่จะยกความเสียเปล่าแห่งโมฆะกรรมขึ้นอ้างได้
(ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ศาลฎีกา)

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก