พระมหาไพรวัลย์ ลาสิกขาแล้วไม่ต้องคืนทรัพย์สินให้วัด|พระมหาไพรวัลย์ ลาสิกขาแล้วไม่ต้องคืนทรัพย์สินให้วัด

พระมหาไพรวัลย์ ลาสิกขาแล้วไม่ต้องคืนทรัพย์สินให้วัด

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

พระมหาไพรวัลย์ ลาสิกขาแล้วไม่ต้องคืนทรัพย์สินให้วัด

  • Defalut Image

ทรัพย์มรดกของพระภิกษุ (มาตรา 1623)

บทความวันที่ 1 ธ.ค. 2564, 11:30

มีผู้อ่านทั้งหมด 1244 ครั้ง


พระมหาไพรวัลย์ ลาสิกขาแล้วไม่ต้องคืนทรัพย์สินให้วัด

ทรัพย์มรดกของพระภิกษุ (มาตรา 1623)
              ทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มาระหว่างสมณเพศ เมื่อพระภิกษุผู้นั้นถึงแก่มรณะภาพ ให้ตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็นภูมิลำเนาของพระภิกษุนั้น เว้นแต่พระภิกษุนั้นได้จำหน่ายไปในขณะมีชีวิตหรือโดยพินัยกรรม (มาตรา 1623)
            ทรัพย์สินของพระภิกษุที่จะตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็นภูมิลำเนานั้นต้องเป็นทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มาระหว่างสมณเพศ ส่วนทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มาก่อนไม่ตกเป็นสมบัติของวัด เช่นที่ดินที่เช่าซื้อมาและชำระค่าเช่าซื้อจนครบถ้วนก่อนบวชเป็นพระภิกษุ แม้ได้จดทะเบียนโอนกันในภายหลัง ก็ถือว่าเป็นทรัพย์สินเป็นทรัพย์สินที่ได้มาก่อนบวชเป็นพระภิกษุ ไม่ตกเป็นสมบัติของวัดตามมาตรา 1623 ดูฎีกาที่ 903/2536
           ทรัพย์สินที่พระภิกษุจำหน่ายจ่ายโอนไประหว่างมีชีวิตหรือโดยพินัยกรรม ไม่ตกเป็นสมบัติของวัด แต่ถ้าพระภิกษุเพียงแต่ทำสัญญาจะขายให้แก่ผู้อื่น แม้ผู้ซื้อจะได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว แต่ยังไม่ทันจดทะเบียนโอน พระภิกษุนั้นก็มรณภาพเสียก่อน ทรัพย์สินนั้นยังคงเป็นทรัพย์สินของพระภิกษุ จึงตกเป็นสมบัติของวัดตาม ป.พ.พ. มาตรา 1623 ดูฎีกาที่ 6354/2540, 1316/2544 (ประชุมใหญ่)

ที่มา หนังสือรวมคำพิพากษา แพ่งพิสดาร ฉบับล่าสุด 2564

 

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1






โดยคุณ peddregreee 13 ธ.ค. 2564, 22:49

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก