ฟ้องว่าลูกจ้างทำละเมิด ต้องนำสืบให้ได้ว่า เป็นลูกจ้างและกระทำละเมิดในทางการที่่จ้าง|ฟ้องว่าลูกจ้างทำละเมิด ต้องนำสืบให้ได้ว่า เป็นลูกจ้างและกระทำละเมิดในทางการที่่จ้าง

ฟ้องว่าลูกจ้างทำละเมิด ต้องนำสืบให้ได้ว่า เป็นลูกจ้างและกระทำละเมิดในทางการที่่จ้าง

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ฟ้องว่าลูกจ้างทำละเมิด ต้องนำสืบให้ได้ว่า เป็นลูกจ้างและกระทำละเมิดในทางการที่่จ้าง

  • Defalut Image

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1270/2531

บทความวันที่ 16 ธ.ค. 2563, 11:07

มีผู้อ่านทั้งหมด 575 ครั้ง


ฟ้องว่าลูกจ้างทำละเมิด ต้องนำสืบให้ได้ว่า เป็นลูกจ้างและกระทำละเมิดในทางการที่จ้าง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1270/2531
               โจทก์ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 2 และที่ 3จำเลยที่ 2 ที่ 3 ปฏิเสธว่ามิได้เป็นนายจ้างของจำเลยที่ 1 แต่ก่อนสืบพยานโจทก์ จำเลยที่ 2 รับว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างและกระทำละเมิดต่อโจทก์ในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 ดังนี้ โจทก์ต้องนำสืบต่อไปว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างและกระทำการในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 3 ดังที่ฟ้อง เมื่อโจทก์มิได้นำสืบเช่นนั้น การที่ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างและกระทำการในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 3 ด้วย จึงเป็นการนำข้อเท็จจริงนอกสำนวนมาวินิจฉัยให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดซึ่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย อันเป็นปัญหาข้อกฎหมาย มิใช่เป็นเรื่องที่ศาลชั้นต้นใช้ดุลพินิจรับฟังข้อเท็จจริงจากพยานหลักฐานในสำนวน แม้ทุนทรัพย์คดีไม่เกิน 20,000 บาท ศาลอุทธรณ์ก็มีอำนาจวินิจฉัย

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก