คลิป/ไฟล์เสียง วิเคราะห์คดี ฟันธง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คลุมเครือ|คลิป/ไฟล์เสียง วิเคราะห์คดี ฟันธง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คลุมเครือ

คลิป/ไฟล์เสียง วิเคราะห์คดี ฟันธง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คลุมเครือ

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

คลิป/ไฟล์เสียง วิเคราะห์คดี ฟันธง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คลุมเครือ

\"การเมืองเรื่องอินเตอร์เน็ตและภาระของตัวกลาง\" จัดโดย เครือข่ายพลเมืองเน็ต

บทความวันที่ 18 พ.ย. 2553, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 3735 ครั้ง


คลิป/ไฟล์เสียง วิเคราะห์คดี ฟันธง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คลุมเครือ


 
           ทีมงานทนายคลายทุกข์ขอนำ บทวิเคราะห์กรณี "การเมืองเรื่องอินเตอร์เน็ตและภาระของตัวกลาง" จัดโดย เครือข่ายพลเมืองเน็ต (Thai Netizen Network)มีสาระสำคัญน่าสนใจ ดังนี้

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการใช้อินเตอร์เน็ต ไม่ว่า กฎหมาย การตลาด การออกแบบสื่ออินเตอร์เน็ต และค่านิยมต่างๆ กลุ่มคนที่เลือกใช้อินเตอร์เน็ต อาจเพราะสื่อกระแสโดนมองว่าลำเอียง ยิ่งในช่วงที่ประกาศใช้ พ.ร.ก. ว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ทั้งเว็บไซต์ที่แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ(นปช.) และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย  ต่างโดนปิดกั้นเหมือนกัน โดยนำ พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.  2550 มาบังคับใช้ ซึ่งพ.ร.บ.ฉบับนี้ได้ระบุว่าผู้บริการอินเตอร์เน็ตหรือเว็บไซต์ต้องเป็นผู้ผิดชอบต่อการกระทำผิดด้วยเช่นกัน จึงกลายเป็นภาระของตัวกลาง

"การมีพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ  แน่นอนอยู่แล้วว่าต้องใช้จัดการคนชั่วที่ใช้อินเตอร์ในทางที่ผิด แต่ตัวพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ กลับคลุมเครือ ไม่รู้ใครทราบกันแน่ว่าฝ่ายไหนบล๊อก ได้แต่โยนเรื่องให้ฝ่ายโน้น ฝ่ายนี้กลับไปกลับมา ทั้งมาตารฐานในการบล๊อกเว็บไซต์ก็ไม่มีข้อบังคับชัดเจน ขึ้นกับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่เอง หลาย มาตรา 14,15,112  ยังคลุมเครืออยู่  ถ้าอยากแก้ปัญหาเหล่านี้เริ่มแก้ความคลุมเครือในมาตรานี้ก่อน อะไรคือการหมิ่นเบื้องสูงกันแน่
 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก