กำไล EM ช่วยไม่ให้นักโทษล้นคุก|กำไล EM ช่วยไม่ให้นักโทษล้นคุก

กำไล EM ช่วยไม่ให้นักโทษล้นคุก

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

กำไล EM ช่วยไม่ให้นักโทษล้นคุก

  • Defalut Image

กำไล EM หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring)

บทความวันที่ 14 ม.ค. 2563, 10:09

มีผู้อ่านทั้งหมด 411 ครั้ง


กำไล EM  ช่วยไม่ให้นักโทษล้นคุก

    กำไล EM หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมผู้กระทำความผิดแทนการจำคุกในเรือนจำ  ภายในประกอบไปด้วยอุปกรณ์ส่งสัญญาณ รับสัญญาณจีพีเอส สามารถจับได้ทุกความเคลื่อนไหวของผู้สวมใส่ อีกทั้งสามารถกำหนดพื้นที่ห้ามเข้าได้ เพื่อป้องกันการก่อเหตุซ้ำหรือหลบหนี
    สามารถยื่นคำร้องขอต่อศาลได้ โดยมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
    1. บุคคลซึ่งต้องจำคุกจะถึงอันตรายแก่ชีวิตถ้าต้องจำคุก
    2. บุคคลซึ่งต้องจำคุกเป็นต้องเลี้ยงดูบิดา  มารดา สามี ภริยา หรือ บุตร ซึ่งพึ่งตนเองมิได้และขาดผู้อุปการะ
    3. บุคคลซึ่งต้องจำคุกเจ็บป่วยและต้องได้รับการรักษาต่อเนื่อง
    4. บุคคลซึ่งต้องจำคุกมีเหตุควรได้รับการทุเลาการบังคับให้จำคุกด้วยเหตุอื่นๆ   

ตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง    
กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจำคุกโดยวิธีการอื่นที่สามารถจำกัดการเดินทางและอาณาเขต พ.ศ. 2556
ข้อ 2
ในการยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อขอให้มีการจำกัดการเดินทางและอาณาเขตแก่ผู้ซึ่งต้องจำคุกผู้ใด ให้เจ้าพนักงานคำนึงถึงเหตุจำเป็นรวมถึงเหตุ ดังต่อไปนี้
(1) ผู้ซึ่งต้องจำคุกจะถึงอันตรายแก่ชีวิตถ้าต้องจำคุก
(2) ผู้ซึ่งต้องจำคุกจำเป็นต้องเลี้ยงดูบิดา มารดา สามี ภริยา หรือบุตร ซึ่งพึ่งตนเองมิได้และขาดผู้อุปการะ
(3) ผู้ซึ่งต้องจำคุกเจ็บป่วยและต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
(4) ผู้ซึ่งต้องจำคุกมีเหตุควรได้รับการทุเลาการบังคับให้จำคุกด้วยเหตุอื่นๆ
ข้อ 3 ในการยื่นคำร้องตามข้อ 2 ให้เจ้าพนักงานผู้ร้องขอเสนอแนวทางปฎิบัติ เงื่อนไข หรือแผนดำเนินการประกอบกิจการพิจารณาของศาลด้วย

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก