อบรมสัมมนา การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร|อบรมสัมมนา การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร

อบรมสัมมนา การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

อบรมสัมมนา การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร

เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2560 อ.เดชา กิตติวิทยานันท์ วิทยากรฝึกอบรมนักทวงหนี้และกฎหมาย

บทความวันที่ 29 ส.ค. 2560, 10:21

มีผู้อ่านทั้งหมด 5461 ครั้ง


อบรมสัมมนา  การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร

             เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2560 อ.เดชา กิตติวิทยานันท์ วิทยากรฝึกอบรมนักทวงหนี้และกฎหมาย  ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรฝึกอบรม หลักสูตร การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร ที่โรงแรมเดอะพาลาสโซ่(รัชดา)  

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1

โดนจับยาบ้าจำนวน20000เม็ด

แต่ผู้ต้องมีทั่งหมดคน รับคนล่ะ4000เม็ด

ไม่สาบว่าประกันได้รึป่าวคับ 

หรือโทษกี่ปี ได้คับ ( ขอคำตอบหน่อยคับ)

โดยคุณ ยามเย็น 8 ธ.ค. 2560, 12:00

ตอบความคิดเห็นที่ 1

1.โดยหลักแล้ว ผู้ต้องหาหรือจำเลยทุกคนพึงได้รับอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว (ประกัน) ทั้งนี้ ตามมาตรา 107 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เว้นแต่จะมีเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามมาตรา 108/1 ศาลอาจจะไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวก็ได้ เช่น ผู้ต้องหาหรือจำเลยจะหลบหนี เป็นต้น 

2.แต่อย่างไรก็ตาม ยาบ้า จำนวน 20,000 เม็ด ถือว่ามีปริมาณที่สูง ซึ่งถ้าหากคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์แล้ว หากเกิน 20 กรัม นั้น ต้องระวางโทษจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 1,000,000-5,000,0000 บาท หรือประหารชีวิต ตามมาตรา 66 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 

3.ซึ่งในกรณีดังกล่าว ตามมาตรา 109 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถ้ามีคำร้องขอให้ปล่อยชั่วคราว ในระหว่างสอบสวนหรือระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น ศาลจะต้องถามพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือโจทก์ว่าจะคัดค้านประการใดหรือไม่ เพราะเป็นกรณีที่ผู้ต้องหาหรือจำเลย ต้องหาหรือถูกฟ้องในความผิดมีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงเกิน 10 ปี 

โดยคุณ ทีมงานทนายคลายทุกข์ 29 ธ.ค. 2560, 16:59

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก