ความแตกต่าง ระหว่างความผิดฐานกรรโชกกับมาตรา 148 (ใช้อำนาจ ในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจให้ส่งมอบทรัพย์สิน)|ความแตกต่าง ระหว่างความผิดฐานกรรโชกกับมาตรา 148 (ใช้อำนาจ ในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจให้ส่งมอบทรัพย์สิน)

ความแตกต่าง ระหว่างความผิดฐานกรรโชกกับมาตรา 148 (ใช้อำนาจ ในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจให้ส่งมอบทรัพย์สิน)

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ความแตกต่าง ระหว่างความผิดฐานกรรโชกกับมาตรา 148 (ใช้อำนาจ ในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจให้ส่งมอบทรัพย์สิน)

  • Defalut Image

คำพิพากษาฎีกาที่ 2573/2553 

บทความวันที่ 15 พ.ค. 2561, 10:23

มีผู้อ่านทั้งหมด 681 ครั้ง


ความแตกต่าง ระหว่างความผิดฐานกรรโชกกับมาตรา 148 (ใช้อำนาจ ในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจให้ส่งมอบทรัพย์สิน)

คำพิพากษาฎีกาที่ 2573/2553 
              จำเลยเป็นตำรวจกองปราบข่มขู่ โจทก์ร่วมให้เอาเงินมาส่งมอบให้โดยอ้างว่าจะลบชื่อออกจากบัญชีผู้ค้ายาเสพติดและจะไม่จับกุมโจทก์ร่วม เป็นความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการฐานเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจให้ส่งมอบทรัพย์สิน สำเร็จแล้ว ความผิดตามมาตรา 148 เพียงแต่ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจให้ส่งมอบทรัพย์สินความผิดก็สำเร็จแล้ว โดยไม่ต้องพิจารณาว่าผู้ถูกข่มขืนใจยอมตามหรือไม่ แตกต่างจากองค์ประกอบความผิดฐานกรรโชกซึ่งจะเป็นความผิดสำเร็จต่อเมื่อผู้ถูกข่มขืนใจยอมตามเช่นว่านั้น ดังนั้น ความผิดฐานกรรโชกตามมาตรา 337 ถ้า ข่มขู่แล้ว ผู้ถูกข่มกูไม่กลัว แต่กลับไปแจ้งตำรวจเพื่อนัดหมายมาจับกุม การกระทำของจำเลยเป็นเพียงความผิดฐานพยายามกรรโชก
 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก