ตำรวจจับคนเมาสุราอาละวาดไปควบคุมตัวที่โรงพัก ไม่ถือว่าปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ|ตำรวจจับคนเมาสุราอาละวาดไปควบคุมตัวที่โรงพัก ไม่ถือว่าปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ

ตำรวจจับคนเมาสุราอาละวาดไปควบคุมตัวที่โรงพัก ไม่ถือว่าปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ตำรวจจับคนเมาสุราอาละวาดไปควบคุมตัวที่โรงพัก ไม่ถือว่าปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ

  • Defalut Image

คำพิพากษาฎีกาที่ 437/2515

บทความวันที่ 12 มี.ค. 2561, 11:55

มีผู้อ่านทั้งหมด 1600 ครั้ง


ตำรวจจับคนเมาสุราอาละวาดไปควบคุมตัวที่โรงพัก ไม่ถือว่าปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ทำได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่ผิดมาตรา 157 และมาตรา 310

คำพิพากษาฎีกาที่ 437/2515
             ผู้เสียหายถูกทำร้ายร่างกายมีบาดแผลหลายแห่งถือว่าได้รับอันตรายแก่กาย ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 295 แล้วเพราะ แพทย์รายงานมีความเห็นว่าจะรักษาหายได้ภายใน 7 วัน ส่วนประเด็นว่าจำเลยเป็นตำรวจได้จับกุมผู้เสียหายในข้อหาเสพสุราจนเมาประพฤติตนวุ่นวาย ครองสติไม่อยู่ขณะอยู่บนถนนสาธารณะ ตำรวจจึงเอาตัวผู้เสียหายเข้าไปขังในห้องขังเพื่อรักษาความสงบเพื่อไม่ให้ทรัพย์สินของทางราชการเสียหาย ไม่ถือว่าจำเลยซึ่งเป็นตำรวจปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ด้วยเกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหายและไม่ผิดฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังทำให้ผู้เสียหายปราศจากเสรีภาพในร่างกายอันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 และมาตรา 310
 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก