บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน|บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน

บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน

กรณีนายจ้างให้ลงบันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน

บทความวันที่ 2 พ.ค. 2556, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 8692 ครั้ง


บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน

           กรณีนายจ้างให้ลงบันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน  หากทำไม่ได้ต้องพ้นสภาพ  ถือว่าเป็นธรรมกับลูกจ้างหรือไม่คะ กรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างลงบันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการทำงาน คือการทำยอดขายให้ได้ตามเกณฑ์ที่บริษัทกำหนด และหากลูกจ้างทำไม่ได้ตามที่ตกลงก็จะถูกหนังสือเตือน และหากเตือนครบ 3 ครั้งติดต่อกัน ลูกจ้างจะต้องเขียนใบลาออกโดยไม่ขอรับเงินชดเชยใดๆ ทั้งสิ้น จึงอยากถามว่าบันทึกข้อตกลงดังกล่าวนี้ ถูกต้องและเป็นธรรมต่อลูกจ้างหรือไม่คะ?


คำแนะนำสำนักงานทนายความ ทนายคลายทุกข์
            นายจ้างและลูกจ้างสามารถทำสัญญาจ้างโดยมีเงื่อนไขการทำงานเกี่ยวกับงานในหน้าที่ที่ลูกจ้างทำงานอยู่อันเป็นมาตรฐานการทำงานตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวนั้นได้ไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายใด จึงใช้บังคับกันได้ในระหว่างคู่สัญญา ทั้งนี้ หากลูกจ้างเห็นว่าข้อตกลงตามบันทึกดังกล่าวไม่เป็นธรรมแก่ตน ก็มีสิทธิที่จะไม่เข้าทำสัญญาเพื่อให้มีนิติสัมพันธ์ต่อกันระหว่างตนกับนายจ้างนั้น

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1

กรณีนายจ้างจ่ายค่าจ้างไม่ตรงตามกำหนดและนายจ้างให้ออกจากงานโดยไม่ได้แจ้งล่วงหน้าพนักงานเข้าทำงานไม่ถึง 120 วันไม่มีสิทธิได้รับค่าชดเชยใดๆเลยหรือค่ะ

โดยคุณ รุ่งนภา 24 พ.ย. 2561, 11:08

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก