ลูกจ้างถ่ายรูปแล้วโพสต์ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น จนมีคนแชร์จำนวนมาก ถือว่าขาดสติและความรับผิดชอบ นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า|ลูกจ้างถ่ายรูปแล้วโพสต์ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น จนมีคนแชร์จำนวนมาก ถือว่าขาดสติและความรับผิดชอบ นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า

ลูกจ้างถ่ายรูปแล้วโพสต์ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น จนมีคนแชร์จำนวนมาก ถือว่าขาดสติและความรับผิดชอบ นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ลูกจ้างถ่ายรูปแล้วโพสต์ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น จนมีคนแชร์จำนวนมาก ถือว่าขาดสติและความรับผิดชอบ นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า

  • Defalut Image

คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 73/2562 

บทความวันที่ 21 มิ.ย. 2565, 11:45

มีผู้อ่านทั้งหมด 373 ครั้ง


ลูกจ้างถ่ายรูปแล้วโพสต์ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น จนมีคนแชร์จำนวนมาก ถือว่าขาดสติและความรับผิดชอบ นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
ลองอ่านฎีกาใหม่และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง  เอาไปใช้ประโยชน์ได้นะครับ

คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 73/2562 
    ลูกจ้างถ่ายรูปและโพสต์ข้อความลงในเฟสบุ๊คว่า "ผู้ชายหน้าตัวเมีย หน้า ห. หน้า ต. แย่งที่จอดรถกุเฉย มึนนะไอ้ควาย" เนื่องจากเข้าใจว่าตนเองถูกแย่งที่จอดรถถือเป็นการดูหมิ่นผู้อื่นด้วยการโฆษณา แม้คนที่ถูกหมิ่นจะไม่ใช่ลูกจ้างของบริษัท แต่เป็นลูกจ้างระดับบังคับบัญชาของบริษัทในเครือ อันเป็นการประจานผู้อื่นต่อสื่อสังคมออนไลน์ที่มีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยไม่สนใจไยดีในความเดือดร้อนของผู้อื่นว่าจะถูกสังคมดูถูกเหยียดหยาม เป็นความผิดร้ายแรง
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
มาตรา 119
(4) ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม และนายจ้างได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีที่ร้ายแรง นายจ้างไม่จำเป็นต้องตักเตือนหนังสือเตือนให้มีผลบังคับได้ไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่ลูกจ้างได้กระทำผิด
#ปรึกษาคดี โทร.02-9485700, 081-6161425, 081-8217470,081-6252161 
#เลิกจ้างไม่เป็นธรรม #คดีแรงงาน  #โพสต์ประจาน
#ทนายคลายทุกข์

 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก