ยินยอมให้อาศัย ยกเลิกได้ ถ้าไม่ออกไปละเมิด|ยินยอมให้อาศัย ยกเลิกได้ ถ้าไม่ออกไปละเมิด

ยินยอมให้อาศัย ยกเลิกได้ ถ้าไม่ออกไปละเมิด

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ยินยอมให้อาศัย ยกเลิกได้ ถ้าไม่ออกไปละเมิด

  • Defalut Image

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1656/2493

บทความวันที่ 25 ก.ย. 2563, 09:24

มีผู้อ่านทั้งหมด 1171 ครั้ง


ยินยอมให้อาศัย ยกเลิกได้ ถ้าไม่ออกไปละเมิด

1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1656/2493
               การเข้าไปอยู่ในห้องของเขา แม้ในชั้นต้นจะมิใช่เป็นการละเมิด แต่เมื่อเจ้าของเขาไม่ประสงค์จะให้อาศัยอยู่ต่อไป และบอกให้ออกไปแล้ว ยังขืนอยู่ดังนี้ ย่อมเป็นการละเมิดต่อเจ้าของ
               เจ้าของห้องทำสัญญาให้ผู้เช่า เช่าห้องไปแล้ว แต่ปรากฏว่ามีคนอื่นเข้าอาศัยอยู่ในห้องนั้น เจ้าของบอกให้ออกไปจากห้อง ผู้นั้นก็ไม่ยอมออก ดังนี้ ย่อมถือว่าผู้นั้นละเมิด และเป็นเหตุให้เจ้าของส่งมอบห้องให้ผู้เช่าไม่ได้ เจ้าของห้องมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้นั้นได้

2.คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 231/2504
             การปลูกสร้างรุกล้ำเข้าไปในเขตห้องของโจทก์ โดยโจทก์ยินยอม แม้จะไม่เป็นการละเมิด แต่ก็ไม่ทำให้เกิดมีสิทธิที่ให้สิ่งปลูกสร้างรุกล้ำอยู่ได้ตลอดไป เมื่อจำเลยรับโอนห้องที่รุกล้ำมาและไม่มีสิทธิที่จะให้สิ่งปลูกสร้างรุกล้ำเขตห้องของโจทก์ได้จำเลยก็ต้องรื้อไป เมื่อโจทก์มีสิทธิและบอกให้รื้อ จำเลยไม่รื้อการซึ่งไม่เป็นละเมิดก็กลายเป็นละเมิดขึ้น

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก