ยกฟ้องได้ทันที ในชั้นไต่สวน ถ้าการกระทำของจำเลยขาดเจตนา|ยกฟ้องได้ทันที ในชั้นไต่สวน ถ้าการกระทำของจำเลยขาดเจตนา

ยกฟ้องได้ทันที ในชั้นไต่สวน ถ้าการกระทำของจำเลยขาดเจตนา

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ยกฟ้องได้ทันที ในชั้นไต่สวน ถ้าการกระทำของจำเลยขาดเจตนา

  • Defalut Image

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5158/2562

บทความวันที่ 24 ก.ย. 2563, 09:34

มีผู้อ่านทั้งหมด 1131 ครั้ง


ยกฟ้องได้ทันที ในชั้นไต่สวน ถ้าการกระทำของจำเลยขาดเจตนา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5158/2562
              ในการไต่สวนมูลฟ้องหากศาลเห็นว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิด ไม่ว่าจะเป็นการกระทำโดยขาดเจตนาหรือมีกฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นไม่เป็นความผิด ศาลก็ชอบที่จะวินิจฉัยและพิพากษายกฟ้องไปได้เลย ไม่จำเป็นต้องประทับฟ้องแล้วไปพิพากษายกฟ้องในภายหลัง อันเป็นดุลพินิจของศาลในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วและชอบด้วยกฎหมาย อุทธรณ์ของโจทก์ว่าในชั้นไต่สวนมูลฟ้องศาลชั้นต้นพิจารณาเพียงแค่ฟ้องโจทก์ครบองค์ประกอบความผิดหรือไม่ ส่วนข้อเท็จจริงเป็นอย่างไรนั้นเป็นขั้นตอนการสืบพยานในชั้นพิจารณานั้นจึงเป็นการอุทธรณ์เกี่ยวกับดุลพินิจในการพิจารณาของศาลซึ่งเป็นปัญหาข้อเท็จจริง
             โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสามตาม ป.อ.มาตรา 341(เดิม) ซึ่งมีระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกพันบาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง  โจทก์จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499  มาตรา 22 ประกอบ พ.ร.บ.ให้นำวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใช้บังคับในศาลจังหวัด พ.ศ.2520 มาตรา 3

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก