คำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์ ผู้พิพากษาสองคนจึงมีอำนาจสั่งได้|คำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์ ผู้พิพากษาสองคนจึงมีอำนาจสั่งได้

คำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์ ผู้พิพากษาสองคนจึงมีอำนาจสั่งได้

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

คำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์ ผู้พิพากษาสองคนจึงมีอำนาจสั่งได้

  • Defalut Image

คำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์ เป็นคำสั่งที่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดี

บทความวันที่ 19 มี.ค. 2563, 14:21

มีผู้อ่านทั้งหมด 641 ครั้ง


คำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์ ผู้พิพากษาสองคนจึงมีอำนาจสั่งได้

          คำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์ เป็นคำสั่งที่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดี ผู้พิพากษาคนเดียวจึงไม่มีอำนาจ ต้องมีผู้พิพากษาสองคนเป็นองค์คณะจึงมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดคำสั่งดังกล่าวได้ ทั้งนี้เป็นไปตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3977/2553
           ศาลชั้นต้นเป็นศาลจังหวัดต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อยสองคนจึงเป็นองค์คณะที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีได้ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 26 แต่ที่ศาลชั้นต้นพิจารณาและมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเฉลี่ยทรัพย์สินของจำเลยที่ 1 ได้นั้น เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดีโดยมีผู้พิพากษาคนเดียวเป็นองค์คณะซึ่งไม่อยู่ในอำนาจที่จะกระทำเช่นนั้นได้ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 24 (2) และมาตรา 25 จึงเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายและศาลอุทธรณ์ภาค 3 ยังไม่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี ต้องให้ศาลชั้นต้นดำเนินการให้ถูกต้องเสียก่อน ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยและแก้ไขให้ถูกต้องได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบมาตรา 246 และ 247

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก