ลูกจ้างตั้งบริษัทที่มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนายจ้าง มีลักษณะการแข่งขันกับกิจการของนายจ้าง|ลูกจ้างตั้งบริษัทที่มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนายจ้าง มีลักษณะการแข่งขันกับกิจการของนายจ้าง

ลูกจ้างตั้งบริษัทที่มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนายจ้าง มีลักษณะการแข่งขันกับกิจการของนายจ้าง

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ลูกจ้างตั้งบริษัทที่มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนายจ้าง มีลักษณะการแข่งขันกับกิจการของนายจ้าง

  • Defalut Image

ลูกจ้างตั้งบริษัทที่มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนายจ้าง มีลักษณะการแข่งขันกับกิจการของนายจ้าง ถือว่าเป็นการจงใจให้นายจ้างได้รับความเสียหาย นายจ้างมีสิทธิเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย

บทความวันที่ 4 พ.ย. 2562, 10:23

มีผู้อ่านทั้งหมด 735 ครั้ง


ลูกจ้างตั้งบริษัทที่มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนายจ้าง มีลักษณะการแข่งขันกับกิจการของนายจ้าง ถือว่าเป็นการจงใจให้นายจ้างได้รับความเสียหาย นายจ้างมีสิทธิเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย
คำพิพากษาฎีกาที่ 239/2545

    โจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างของนายจ้าง มีตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาอาวุโสของนายจ้าง ทำการตั้งบริษัทซึ่งมีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนายจ้าง และมีลักษณะเป็นการแข่งขันกับกิจการของนายจ้าง ซึ่งบริษัทดังกล่าวย่อมจะต้องดำเนินกิจการให้บริการแก่ลูกค้ากลุ่มเดียวกันกับลูกค้าของนายจ้าง ลูกค้าอาจจะเลือกการใช้บริการการให้คำปรึกษาของบริษัทที่โจทก์ก่อตั้งขึ้น เมื่อเป็นเช่นนี้ย่อมจะต้องกระทบถึงรายได้ของนายจ้าง และทำให้นายจ้างเสียหาย แม้จะไม่ปรากฏว่าบริษัทที่โจทก์ก่อตั้งได้แย่งลูกค้าของนายจ้างหรือมีลูกค้าไปใช้บริการของบริษัทที่โจทก์ตั้งแล้วก็ตาม ก็ต้องถือว่าการที่โจทก์ตั้งบริษัทในลักษณะดังกล่าวเป็นการที่โจทก์จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายแล้ว นายจ้างจึงมีสิทธิเลิกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยและค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (2) แก่โจทก์

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก