ข้อกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการจับ|ข้อกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการจับ

ข้อกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการจับ

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ข้อกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการจับ

  • Defalut Image

รัฐธรรมนูญมาตรา 28

บทความวันที่ 28 มี.ค. 2562, 10:11

มีผู้อ่านทั้งหมด 380 ครั้ง


ข้อกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการจับ

1.รัฐธรรมนูญมาตรา 28
             การจับและคุมขังบุคคลจะกระทำมิได้เว้นแต่มีคำสั่งหรือหมายศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติการค้นตัวบุคคลหรือกระทำใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิตหรือร่างกายจะกระทำมิได้เว้นแต่มี เหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ  การจับคือการจำกัดเสรีภาพในการเคลื่อนไหวของบุคคลเป็นมาตรการในการนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ แต่เป็นการกระทำที่ล่วงละเมิดสิทธิ์และเสรีภาพของบุคคลอย่างร้ายแรงกฎหมายจึงต้องบัญญัติหลักเกณฑ์ในการจับและการค้นไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 57 มาตรา 78 มาตรา 81 มาตรา 93

2. มีข้อยกเว้นให้ราษฎรจับผู้อื่นได้ในบางกรณี  

             เช่น ตามมาตรา 79 มาตรา 82 มาตรา 117 กฎหมายเปิดโอกาสให้ราษฎรจับ ได้เหมือนกัน แต่ต้องเป็นความผิดซึ่งหน้าตามมาตรา 79 และเป็นความผิดที่ระบุไว้ท้ายประมวลกฎหมายนี้
             ถ้าไม่ได้ระบุไว้ท้ายประมวลจะจับไม่ได้ เช่น ความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ แม้เราจะเห็นว่ามีการค้ายาเสพติดให้โทษเราก็จับไม่ได้ต้องเป็นเรื่องของเจ้าพนักงานตำรวจเท่านั้น
อ้างอิง:คำบรรยายของ เนติบัณฑิตยสภา  โดย อดีตประธานศาลฎีกา อาจารย์สบโชค สุขารมณ์
#อาสาตำรวจจึงไม่มีอำนาจในการจับกุมบุคคลอื่น

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก