นิติบุคคลเอาทรัพย์สินส่วนกลางไปหาประโยชน์ ต้องได้รับมติจากเจ้าของร่วมเท่านั้น|นิติบุคคลเอาทรัพย์สินส่วนกลางไปหาประโยชน์ ต้องได้รับมติจากเจ้าของร่วมเท่านั้น

นิติบุคคลเอาทรัพย์สินส่วนกลางไปหาประโยชน์ ต้องได้รับมติจากเจ้าของร่วมเท่านั้น

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

นิติบุคคลเอาทรัพย์สินส่วนกลางไปหาประโยชน์ ต้องได้รับมติจากเจ้าของร่วมเท่านั้น

  • Defalut Image

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1680/2561

บทความวันที่ 17 ธ.ค. 2561, 16:16

มีผู้อ่านทั้งหมด 965 ครั้ง


นิติบุคคลเอาทรัพย์สินส่วนกลางไปหาประโยชน์ ต้องได้รับมติจากเจ้าของร่วมเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1680/2561
            โจทก์เป็นเจ้าของห้องชุดมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและมีกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง ตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 มาตรา 13 วรรคหนึ่ง การที่จำเลยที่ 1 นำที่ดินหน้าอาคารซึ่งเป็นทรัพย์ส่วนกลางไปทำสัญญาเช่ากับจำเลยที่ 5 โดยมิได้รับมติของเจ้าของร่วม ย่อมทำให้โจทก์ซึ่งเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลางได้รับผลกระทบกระทั่งต่อสิทธิที่โจทก์มีอยู่ ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์มีอำนาจฟ้องคดีนี้
         จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเช่าที่ดินบริหารบริเวณหน้าอาคารเพื่อทำแผงค้ากับจำเลยที่ 5 โดยทรัพย์สินที่เช่าเป็นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชุด เป็นการกระทำเพื่อประโยชน์ในการจัดการทรัพย์ส่วนกลางจะต้องได้รับมติของเจ้าของร่วม  ตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522  มาตรา 33  วรรคสอง เมื่อไม่ได้รับมติจากเจ้าของร่วม จึงเป็นการฝ่าฝืนต่อกำหมาย สัญญาเช่าตกเป็นโมฆะ การต่อสัญญาเช่าฉบับต่อมาตกเป็นโมฆะด้วย

มีข้อสงสัยเพิ่มเติม ปรึกษากฎหมายกับทีมงานทนายคลายทุกข์ โทร.02-9485700

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1

เรียน ทนายคลายทุกข์


ต้องการให้ดำเนินการ  ฟ้องเทียบ คำพิพากษาศาลฏีกาที่ 1680/2561  

การไม่ทำ ตาม มาตรา 38/1,2.3  มาตรา 43 (3),(7)


บทกำหนดโทษ ที่มีอยู่จะใช้ใด้อย่างไร


หวังว่าคงใด้รับการตอบรับจากท่านในเร็ววัน


ขอแสดงความนับถือ


ปรุะทุมภรณ์



โดยคุณ ประทุมภรณ์ 12 ม.ค. 2562, 18:00

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก