การพิพากษาของศาลฏีกา|การพิพากษาของศาลฏีกา

การพิพากษาของศาลฏีกา

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

การพิพากษาของศาลฏีกา

แม่ของผมถูกกล่าวหาว่าลักทรัพย์ ทั้งๆที่วันเกิดเหตุแม่ผมอยู่ที่บ้าน

บทความวันที่ 31 ม.ค. 2556, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 1435 ครั้ง


การพิพากษาของศาลฏีกา

    
          แม่ของผมถูกกล่าวหาว่าลักทรัพย์ ทั้งๆที่วันเกิดเหตุแม่ผมอยู่ที่บ้านมีพยานพร้อม ของที่ถูกกล่าวหาว่าลักทรัพมีน้ำหนักมากกว่าตัวแม่ผมที่อายุจะ 47 ปี ตอนถูกกล่าวหาเป็นกระสอบผ้าขนาดใหญ่ ศาลชั้นต้นจึงตัดสินว่าแม่ผมไม่ผิด แต่แม่ผมไม่ได้ฟ้องกลับคนที่มากล่าวหา เสร็จแล้วอัยการกลับสั่งฟ้องศาลอุทธรณ์ แล้วศาลอุทธรณ์กลับตัดสินว่าแม่ผมผิด และไม่ให้ประกันตัวในชั้นศาล แม่ผมต้องเข้าเรือนจำ 5 วัน ถึงได้ขอยื่นประกันตัวได้ตอนนี้หมายเรียกศาลฏีกามาแล้ว ทางบ้านเครียดมาก ไม่รู้ว่าโอกาสที่ศาลฏีกาจะตัดสินเหมือนศาลชั้นต้นจะมีหวังแค่ไหน


คำแนะนำสำนักงานทนายความ ทนายคลายทุกข์
         เมื่อมารดาของท่านซึ่งเป็นจำเลยฎีกาคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดแล้วและศาลชั้นต้นตรวจสอบฎีกามีคำสั่งรับฎีกาและส่งฎีกานั้นไปยังศาลฎีกาเพื่อพิจารณาชี้ขาดต่อไปแล้ว กรณีย่อมอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลฎีกา และเมื่อศาลฎีกาไม่เห็นพ้องด้วยกับการวินิจฉัยคดีที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยชี้ขาดมา โดยเห็นด้วยกับคำวินิจฉัยชี้ขาดศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็ชอบที่จะพิพากษากลับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์เป็นยกฟ้องโจทก์ปล่อยมารดาไป ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 225 ประกอบมาตรา 185 วรรคหนึ่ง, มาตรา 214 และ 215
 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก