ข้อกฎหมาย \" การค้ำประกันเข้าทำงาน\"|ข้อกฎหมาย \" การค้ำประกันเข้าทำงาน\"

ข้อกฎหมาย \" การค้ำประกันเข้าทำงาน\"

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ข้อกฎหมาย \" การค้ำประกันเข้าทำงาน\"

เมื่อ 7 ปีก่อน ได้ค้ำประกันบุคคลเข้าทำงาน ในตำแหน่ง sale

บทความวันที่ 24 ก.ค. 2555, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 12922 ครั้ง


ข้อกฎหมาย " การค้ำประกันเข้าทำงาน"


          เมื่อ 7 ปีก่อน ได้ค้ำประกันบุคคลเข้าทำงาน ในตำแหน่ง sale ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับเงิน  เลยต้องมีคนค้ำ 2 คน  เมื่อปลายปี 2554 พนักงานคนดังกล่าวถูกดำเนินคดียักยอกเงินบริษัท พร้อมกับเพื่อนร่วมงานอีกคน  คนที่เราไปค้ำประกัน เป็นผู้ต้องหาที่ 1 ทั้งสองคนยอมว่าเป็นคนทำ  และถูกนายจ้างดำเนินคดี ฝากขังที่เรือนจำพิเศษ ยื่นประกันตัวออกมา  ปัจจุบันกำลังขอไกล่เกลี่ยกับบริษัทเรื่องการชดใช้งินที่  ทนายฝ่ายนายจ้างแนะนำให้เขียนข้อความว่าคนค้ำประกันไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำ และเงินส่วนที่จำเลยกระทำไป
           แต่ที่ดิฉันไม่สบายใจตรงที่ว่ายอดเงินเยอะ และภายในอายุความ 10 ปี เขาจะใช้หมดหรือป่าว ถ้าวันใดที่เขาเกิดท้อ ไม่ใช้ขึ้นมา ดิฉันเป็นคนค้ำประกัน จะต้องมารับภาระเงินที่เหลือหรือป่าวคะ
     


คำแนะนำสำนักงานทนายความ ทนายคลายทุกข์
           สัญญาค้ำประกันลูกจ้างเข้าทำงาน ผู้ค้ำประกันต้องรับผิดเฉพาะความเสียหายที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งงานที่ลูกจ้างกระทำเช่นนั้น  และกรณีที่น้องเขยของท่านซึ่งเป็นลูกจ้างได้ยักยอกทรัพย์สินของนายจ้างในหน้าที่ที่ตนปฏิบัติอยู่ ความรับผิดของท่านตามสัญญาค้ำประกันจึงจะเกิดขึ้น ดังนั้น ท่านจึงควรนำสัญญาค้ำประกันหรือนำเรื่องเข้ามาปรึกษาทนายเพื่อพิจารณาว่าการกระทำของน้องเขยเข้าเงื่อนไขที่ท่านต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกันนั้นหรือไม่

 

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 3

ขอโทดน่ะค่ะ...ตอนนี้มีลุกศิษกำลังจะเข้าทำงานร้านทอง มาขอให้ไปเซ็นค้ำประกันให้...มันดีไหมค่ะ แต่ยังไม่รุ้เงื่อนไขในการเซ็นเลย...ควรเซ็นไหมค่ะ

โดยคุณ 2 พ.ย. 2559, 16:46

ความคิดเห็นที่ 2

 อยากสอบถามค่ะว่า การทำงาน อบต. ข้าราชการระดับ ซี3 ขึ้นไป สามารถค้ำประกันพนักงานจ้างได้กี่คนคะ

โดยคุณ Jarawee 27 เม.ย. 2559, 16:12

ความคิดเห็นที่ 1

มีเรื่องสงสัยในการเราจ่ายเงินค้ำประกันในการทำงานบริษัทบอกว่าถ้าอยู่ครบ 1 ปี จะคืนเงินให้ แต่เราอยู่ไม่ครบ 1 ปี แล้วลาออกและลาออกตามกฎของบริษัทแต่บริษัทไม่คืนเงินให้จึงถามว่าบริษัทมีความผิดมั้ยค่ะ

โดยคุณ จิดาภา เครือศรี 5 พ.ย. 2556, 11:15

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก