ลูกจ้างยื่นใบลาออกนายจ้างให้มีผลเลยไม่ถือเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม|ลูกจ้างยื่นใบลาออกนายจ้างให้มีผลเลยไม่ถือเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

ลูกจ้างยื่นใบลาออกนายจ้างให้มีผลเลยไม่ถือเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ลูกจ้างยื่นใบลาออกนายจ้างให้มีผลเลยไม่ถือเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

พนักงานยื่นใบลาออก นายจ้างบอกไม่ต้องมาทำงานหลังจากวันยื่น

บทความวันที่ 22 มิ.ย. 2555, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 649 ครั้ง


ลูกจ้างยื่นใบลาออกนายจ้างให้มีผลเลยไม่ถือเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม


คำถาม
            พนักงานยื่นใบลาออก  นายจ้างบอกไม่ต้องมาทำงานหลังจากวันยื่นไม่ต้องรอให้ถึงวันที่แจ้ง  ถือว่านายจ้างเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่

คำตอบ
คำพิพากษาฎีกาที่ 10161/2551

            การเลิกสัญญาจ้างแรงงานนั้น  นายจ้างหรือลูกจ้างมีสิทธิแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาจ้างแรงงานได้แต่เพียงฝ่ายเดียว  โดยไม่จำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งยินยอมตกลงหรืออนุมัติ  การเลิกสัญญาจ้างแรงงานจึงมีผลในวันที่ลูกจ้างแจ้งไว้ (31 กรกฎาคม 2545) หลังจากลูกจ้งแสดงเจตนาลาออกต่อนายจ้างแล้ว  ก็ไม่อาจถอนเจตนานั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 386 วรรคสอง  สัญญาจ้างแรงงานย่อมจะมีผลสิ้นสุดในวันดังกล่าว  แม้นายจ้างจะให้ลูกจ้างออกจากงานก่อนวันดังกล่าวตามที่นายจ้างประสงค์โดยลูกจ้างไม่มีความผิด  ก็มีผลทำให้ลูกจ้างเสียหายเพียงเท่าที่ไม่ได้รับค่าจ้างจนถึงวันที่ลูกจ้างลาออกเท่านั้น  มิใช่เป็นการเลิกจ้าง

 

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1

 ติดค่าจักยานยนของจีอีและได้ปิดบัญชีไปแล้วสามารถทำบัตรเครดิตได้เลยไหมค่ะ ช่วยตอบด้วยค่ะ

โดยคุณ เด็กขอน 24 มิ.ย. 2555, 01:57

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก