ไถ่ถอนก่อนกำหนด ไฟแนนซ์จะปรับร้อยละ 2 ของยอดเงินค้างชำระ|ไถ่ถอนก่อนกำหนด ไฟแนนซ์จะปรับร้อยละ 2 ของยอดเงินค้างชำระ

ไถ่ถอนก่อนกำหนด ไฟแนนซ์จะปรับร้อยละ 2 ของยอดเงินค้างชำระ

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ไถ่ถอนก่อนกำหนด ไฟแนนซ์จะปรับร้อยละ 2 ของยอดเงินค้างชำระ

ข้าพเจ้าสมาชิกรหัส R 14858 ได้ไปกู้ยืมเงินจากบริษัท เครดิตฟองซิเอร์ไทยเคหะ จำกัด เพื่อนำเงินมาทำธุรกิจ โดยข้าพเจ้าได้เอาบ้านพร้อมที่ดินไปจำนอง โดยบริษัทที่ให้กู้

บทความวันที่ 8 ม.ค. 2550, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 1721 ครั้ง


ไถ่ถอนก่อนกำหนด ไฟแนนซ์จะปรับร้อยละ 2 ของยอดเงินค้างชำระ

ไถ่ถอนก่อนกำหนด ไฟแนนซ์จะปรับร้อยละ 2 ของยอดเงินค้างชำระ

?

เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2547 ข้าพเจ้าสมาชิกรหัส R 14858 ได้ไปกู้ยืมเงินจากบริษัท เครดิตฟองซิเอร์ไทยเคหะ จำกัด? เพื่อนำเงินมาทำธุรกิจ โดยข้าพเจ้าได้เอาบ้านพร้อมที่ดินไปจำนอง โดยบริษัทที่ให้กู้ ให้เงินมา 7,000,000 บาท

?

โดยให้ข้าฯผ่อนคืนภายในระยะเวลา 20 ปี ผ่อนเป็นรายเดือน? ๆ ละ 50,000 บาท? ซึ่งข้าพเจ้าก็ผ่อนชำระแล้วเป็นเวลา 2 ปีเศษ

?

ต่อมาข้าพเจ้าไม่มีปัญญาที่จะใช้หนี้เป็นรายเดือนแล้ว ซึ่งได้ค้างชำระค่างวดในปี 2548 อยู่ประมาณ 7 งวด จึงได้เข้าไปหาบริษัทให้กู้ เพื่อประนอมหนี้?

?

หลังจากนั้น กลางปี 2549 ได้มีการทำสัญญาปรับโครงสร้างหนี้กับบริษัทที่ให้กู้ โดยลดยอดผ่อนชำระรายเดือน จากเดือนละ 50,000 บาท เหลือ เดือนละ 35,000 บาท ซึ่งให้เริ่มผ่อนชำระในเดือน กันยายน 2549 เป็นต้นไป

?

??????????? ปัจจุบันไม่มีปัญญาจะผ่อนชำระหนี้รายเดือน จึงไปปรึกษาญาติพี่น้อง? ญาติเลยให้ไปติดต่อกับเจ้าหนี้ แต่มีสัญญาอยู่ข้อหนึ่งเขียนว่า ?ผู้กู้ที่เลือกกู้แบบอัตราดอกเบี้ยคงที่จะไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนดระยะเวลาคงที่ในแต่ละช่วงไม่ได้ หากผู้กู้ไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนดระยะเวลาดังกล่าว ผู้กู้จะต้องชำระค่าปรับเท่ากับอัตราร้อยละ 2.0 (สองจุดศูนย์) ต่อปี ของเงินต้นที่คงเหลือ นับจากระยะเวลาคงเหลือที่ผูกพันอัตราดอกเบี้ยคงที่ช่วงหลังสุดจนถึงวันไถ่ถอนจำนอง???

?

??????????? จึงอยากถามว่า ถ้าจ่ายเงินทั้งหมด? โดยการไถ่ถอนที่ออกจากไฟแนนซ์ จะถูกปรับร้อยละ 2 หรือไม่

?

คำแนะนำอาจารย์

????? ข้อสัญญาเกี่ยวกับเรื่องค่าปรับในกรณีไถ่ถอนก่อนกำหนด และต้องถูกปรับในอัตราร้อยละ 2 ของยอดเงินที่ค้างชำระ ในความเห็นของผมเห็นว่า เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.. 2540? มาตรา 4 ?กล่าวคือ ข้อตกลงดังกล่าวเป็นข้อตกลงให้ต้องรับผิดหรือรับภาระมากกว่าที่กฎหมายกำหนดและเป็นการเอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ?ซึ่งผู้กู้สามารถยื่นฟ้องต่อศาลเพื่อให้ศาลวินิจฉัยว่าข้อสัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าวเป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม และให้มีผลใช้บังคับเท่าที่เป็นธรรมและพอควรแก่กรณี

?

ตัวบทกฎหมายอ้างอิง

พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.. 2540? มาตรา 4 ซึ่งบัญญัติว่า?

??????????? ?ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ? หรือในสัญญาสำเร็จรูป ?หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควรเป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมและให้มีผลบับคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น ?

?

??????????? ในกรณีที่มีข้อสงสัย ให้ตีความสัญญาสำเร็จรูปไปในทางที่เป็นคุณแก่ฝ่ายซึ่งมิได้เป็นผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูปนั้น

??????????? ข้อตกลงที่มีลักษณะหรือมีผลให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติหรือรับภาระเกินกว่าที่วิญญูชนจะพึงคาดหมายได้ตามปกติ เป็นข้อตกลงที่อาจถือได้ว่าทำให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น

?

(1)?? ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดที่เกิดจากการผิดสัญญา

(2)?? ข้อตกลงให้ต้องรับผิดหรือรับภาระมากกว่าที่กฎหมายกำหนด

(3)?? ข้อตกลงให้สัญญาสิ้นสุดลงโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรือให้สิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยอีกฝ่ายหนึ่งมิได้ผิดสัญญาในข้อสาระสำคัญ

(4)?? ข้อตกลงให้สัญญาสิ้นสุดลงโดยไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใด หรือปฏิบัติตามสัญญาในระยะเวลาที่ล่าช้าได้โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

(5)?? ข้อตกลงให้สิทธิคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเรียกร้องหรือกำหนดให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องรับภาระเพิ่มขึ้นมากกว่าภาระที่เป็นอยู่ในเวลาทำสัญญา

(6)?? ข้อตกลงในสัญญาขายฝากที่ผู้ซื้อฝากกำหนดราคาสินไถ่สูงกว่าราคาขายบวกอัตราดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละสิบห้าต่อปี

(7)?? ข้อตกลงในสัญญาเช่าซื้อที่กำหนดราคาเช่าซื้อหรือกำหนดให้ผู้เช่าซื้อต้งรับภาระสูงเกินกว่าที่ควร

(8)?? ข้อตกลงในสัญญาบัตรเครดิตที่กำหนดให้ผู้บริโภคต้องชำระดอกเบี้ย เบี้ยปรับ ค่าใช้จ่ายหรือประโยชน์อื่นใดสูงเกินกว่าที่ควรในกรณีที่ผิดนัดหรือที่เกี่ยวเนื่องกับการผิดนัดชำระหนี้

(9)?? ข้อตกลงที่กำหนดวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นที่ทำให้ผู้บริโภคต้องรับภาระสูงเกินกว่าที่ควร

????? ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทำให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามวรรคสาม จะเป็นการได้เปรียบเกินสมควรหรือไม่ ให้นำมาตรา 10 มาใช้โดยอนุโลม?

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก