ความรับผิดของกรรมการบริษัท|ความรับผิดของกรรมการบริษัท

ความรับผิดของกรรมการบริษัท

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ความรับผิดของกรรมการบริษัท

หลายคนเป็นกรรมการบริษัท ด้วยความตั้งใจ เนื่องจากเป็นธุรกิจของตนเอง แต่หลายคน เป็นกรรมการบริษัท เพราะถูกบังคับจากญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง หรือผู้บังคับบัญชา เลยตกบันไดพลอยโจร

บทความวันที่ 9 เม.ย. 2551, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 9211 ครั้ง


ความรับผิดของกรรมการบริษัท

ความรับผิดของกรรมการบริษัท

หลายคนเป็นกรรมการบริษัท ด้วยความตั้งใจ  เนื่องจากเป็นธุรกิจของตนเอง แต่หลายคน      เป็นกรรมการบริษัท เพราะถูกบังคับจากญาติพี่น้อง  เพื่อนฝูง  หรือผู้บังคับบัญชา เลยตกบันไดพลอยโจร ต้องไปเป็นกรรมการบริษัทโดยที่ตัวเองมิได้เข้าไปบริหารงาน หลังจากเป็นกรรมการบริษัทจึงเกิดความรับผิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

 

1.  ต้องใช้ความเอื้อเฟื้อ สอดส่องดูแลบริษัทด้วยความระมัดระวังตาม ป.พ.พ. มาตรา 1168

 

2.  การทำหน้าที่กรรมการ ต้องทำตามวัตถุประสงค์ของบริษัท  ถ้าทำนอกวัตถุประสงค์ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว  ดังนั้น จึงต้องดูว่าสิ่งที่ตัวเองทำไปนั้น อยู่ในวัตถุประสงค์ของบริษัทหรือไม่

 

3.  ถ้ากรรมการกระทำไปตามวัตถุประสงค์ของบริษัท และเกิดความเสียหาย ไม่ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว ตาม ป.พ.พ. มาตรา 820

 

4.  ถ้ากรรมการกระทำไปโดยประมาทเลินเล่อ หรือจงใจทำให้บริษัทได้รับความเสียหาย ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว ตาม ป.พ.พ. 823

 

5.  ห้ามกรรมการบริษัทไปทำธุรกิจที่มีลักษณะเดียวกัน เช่น ขายสินค้าแบบเดียวกันและเป็นการแข่งขัน กับบริษัทเพื่อประโยชน์ของตนเองเป็นการส่วนตัวหากฝ่าฝืน ต้องรับผิดตาม     ป.พ.พ. 1038

 

6.  กรรมการบริษัทสั่งจ่ายเช็ค ประทับตราบริษัท เพื่อชำระหนี้ให้แก่บุคลภายนอก ถ้า  เช็คเด้ง จะต้องรับผิดทางอาญาต่างหากอีกส่วนหนึ่ง ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการ ใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4

 

7.  ดังนั้น ถ้าไม่อยากติดคุกติดตะราง  ก็อย่าไปเกี่ยวข้องกับกรรมการของบริษัทจะเป็นการดีที่สุด

 

8.  ถ้ากรรมการบริษัทไปรับรองการเงินอันเป็นเท็จ  ก็อาจจะติดคุกติดตะรางถ้าเข้าข่ายในลักษณะจงใจหลบเลี่ยงภาษี  ก็ต้องรับผิดทางอาญาอีกส่วนหนึ่ง

           

หากท่านใดมีข้อสงสัยโทรศัพท์ปรึกษาได้ที่   02-948-5700

 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก