การหมิ่นประมาทผู้อื่น|การหมิ่นประมาทผู้อื่น

การหมิ่นประมาทผู้อื่น

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

การหมิ่นประมาทผู้อื่น

วันนี้ (24 กรกฎาคม 2558) ศาลฎีกาจำคุกนายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์

บทความวันที่ 24 ก.ค. 2558, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 622 ครั้ง


การหมิ่นประมาทผู้อื่น

          วันนี้ (24 กรกฎาคม 2558) ศาลฎีกาจำคุกนายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ โฆษกพรรคเพื่อไทย
          1.แถลงข่าวเป็นเท็จ
          2.เล็งเห็นอยู่แล้วว่าสื่อจะนำไปเผยแพร่
          3.ใช้สื่อมวลชนเป็นเครื่องมือในการหมิ่นประมาท
          4.ทำให้บุคคลอื่นเข้าใจผิด
          5.การศึกษาสูงระดับปริญญาเอกเป็นอาจารย์หลายสถาบัน
          6.จำคุก 1 ปี ไม่รอลงอาญา
           เป็นบทเรียนสำหรับคนที่มีการศึกษาสูงจะต้องระมัดระวังคำพูด ไม่ใส่ร้ายผู้อื่น ถ้ากระทำความผิดไม่มีเหตุอันควรปราณี เพราะแนวโน้มของศาลระบุว่าเป็นคนมีเกียรติ ควรทำตัวให้เป็นตัวอย่างที่ดีให้สังคม เพื่อไม่ให้เป็นเยี่ยงอย่าง จึงต้องลงโทษจำคุก
            ศาลชั้นต้นพิพากษารอการลงโทษ ศาลอุทธรณ์ไม่รอ โจทก์มิได้อุทธรณ์ถือเป็นการเพิ่มโทษจำเลย ต้องห้ามตามป.วิ.อ.มาตรา 212 คดีนี้โจทก์น่าจะอุทธรณ์ฎีกาด้วย ผมดูจากหนังสือพิมพ์ลงข่าวทำนองว่าจำเลยอุทธรณ์ฎีกาอยู่ฝ่ายเดียว จึงไม่แน่ใจเหมือนกันว่าข่าวที่ลงในหนังสือพิมพ์ถูกหรือไม่ แต่ที่ผ่านมามีคำพิพากษาของศาลฎีกาที่ 12054/2555 และ 1472/2545 วางบรรทัดฐานว่าเป็นการเพิ่มโทษ ดังนั้นถ้าจะเพิ่มโทษจำเลย โจทก์ต้องขอให้เพิ่มโทษเท่านั้น จึงให้ความรู้ท่านผู้อ่านที่สอบถามมา

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก