การวิ่งเต้น ซื้อขายตำแหน่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีจริง|การวิ่งเต้น ซื้อขายตำแหน่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีจริง

การวิ่งเต้น ซื้อขายตำแหน่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีจริง

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

การวิ่งเต้น ซื้อขายตำแหน่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีจริง

  • Defalut Image

พันตำรวจเอก หลอก พันตำรวจเอก แต่วิ่งไม่สำเร็จ  ศาลฎีกาเคยตัดสินมาแล้ว

บทความวันที่ 27 พ.ค. 2561, 12:07

มีผู้อ่านทั้งหมด 1137 ครั้ง


การวิ่งเต้น ซื้อขายตำแหน่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีจริง

              พันตำรวจเอก หลอก พันตำรวจเอก แต่วิ่งไม่สำเร็จ  ศาลฎีกาเคยตัดสินมาแล้ว คำพิพากษาฎีกาที่ 10112/2559  จำเลยที่ 1 และพันตำรวจเอกส. เป็นฝ่ายติดต่อและเสนอเรียกค่าใช้จ่ายในการดำเนินการแต่งตั้งโยกย้ายและเลื่อนตำแหน่งผู้บังคับการตำรวจจังหวัดจากผู้เสียหาย( ภริยา พันตำรวตเอก ช.)จนผู้เสียหายหลงเชื่อจึงมอบเงินให้ไป  พฤติการณ์เป็นข้อบ่งชี้ให้เห็นได้อย่างอย่างชัดเจนว่าผู้เสียหายซึ่งเป็น”ภริยาของพันตำรวจเอก ช.” ทราบว่าจะได้ตำแหน่งผู้บังคับการจังหวัดจะต้องวิ่งเต้นเสียเงิน"เป็นการตอบแทนอันเป็นการได้ตำแหน่งมาโดยมิชอบ" ผู้เสียหายจึงมีส่วนก่อให้เกิดการกระทำความผิด จึงไม่ใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัย ไม่มีอำนาจร้องทุกข์ และพนักงานสอบสวนก็ไม่มีอำนาจสอบสวน พนักงานอัยการโจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง เงินที่มอบให้ไปก็เรียกคืนไม่ได้เพราะเป็นการชำระหนี้อันฝ่าฝืนกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 411 "เสียทั้งเงินเสียทั้งหน้า"

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก