ข้อกฎหมายที่ควรรู้จากทนายคลายทุกข์|ข้อกฎหมายที่ควรรู้จากทนายคลายทุกข์

ข้อกฎหมายที่ควรรู้จากทนายคลายทุกข์

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ข้อกฎหมายที่ควรรู้จากทนายคลายทุกข์

  • Defalut Image

คำพิพากษาฎีกาที่ 1692/2560

บทความวันที่ 15 ก.พ. 2561, 10:09

มีผู้อ่านทั้งหมด 1475 ครั้ง


ข้อกฎหมายที่ควรรู้จากทนายคลายทุกข์

คำพิพากษาฎีกาที่ 1692/2560
            มาตรา 271 บัญญัติให้เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาจะต้องร้องขอให้บังคับคดีภายใน 10 ปี นับแต่วันมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง โดยไม่มีข้อยกเว้นมิให้ใช้บังคับแก่เจ้าหนี้จำนอง ดังนั้นการร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของเจ้าหนี้จำนองต้องกระทำภายในระยะเวลา 10 ปีตามบทบัญญัติดังกล่าว เช่นกันซึ่งจะเป็นการบังคับคดีที่ต้องตามเจตนารมณ์ของกฏหมายวิธีพิจารณาความคดีนี้ โจทก์เพิ่งยื่นขอออกหมายบังคับคดีเมื่อพ้นระยะเวลา 10 ปีนับ แต่วันอ่านคำพิพากษา โจทก์ไม่มีสิทธิ์บังคับคดีเอาแก่ทรัพย์จำนองของจำ เลยทั้งสองอย่างไรก็ตามทรัพยสิทธิจำนองยังคงอยู่และโจทก์สามารถใช้ยันต่อลูกหนี้จำนองหรือบุคคลภายนอกที่รับโอนทรัพย์สินจำนองต่อไปได้ตามมาตรา 274 วรรคสอง
ที่มาคำบรรยายเนติบัณฑิตสมัยที่ 70 เล่มที่ 11
 

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1

ขอรบกวนสอบถามภรรยาโดนจับเจอของกลางยาเสพติด แร้วสามีปัยขอเปลี่ยนตัว

แต่ทางจำรวจไม่ยอมปล่อยเหมือนคำที่พูดเราสามารถสู้คดีได้ไหมมีกล้องวงจรที่เกิดเหตุว่าสามีไม่อยู่ในที่เกิดเหตุแบบนี้มีทางสู้ได้หรือไม่

โดยคุณ ปิยะนุช 23 ก.พ. 2561, 10:20

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก