การสอบสวนคดีอาญาเด็ก|การสอบสวนคดีอาญาเด็ก

การสอบสวนคดีอาญาเด็ก

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

การสอบสวนคดีอาญาเด็ก

วันนี้มีคดีสะเทือนขวัญ ดช.วัย 16 ฆ่า 12 ศพ สยดสยองเมืองแซมบ้า ภาคใต้ของบราซิล ฆ่าคนตายโดยไม่มีเหตุผลเช่น ห้ามไม่ให้ไปเที่ยว ไม่พอใจที่มาจีบพี่สาวตัวเอง เป็นต้น

บทความวันที่ 30 มี.ค. 2551, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 4177 ครั้ง


การสอบสวนคดีอาญาเด็ก

การสอบสวนคดีอาญาเด็ก

?????

วันนี้มีคดีสะเทือนขวัญ ดช.วัย 16 ฆ่า 12 ศพ สยดสยองเมืองแซมบ้า ภาคใต้ของบราซิล ฆ่าคนตายโดยไม่มีเหตุผลเช่น ห้ามไม่ให้ไปเที่ยว ไม่พอใจที่มาจีบพี่สาวตัวเอง เป็นต้น

?

?????? ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 133 ทวิ ได้มีการกำหนดเกี่ยวกับการถามปากคำและสอบสวนเด็กในชั้นพนักงานสอบสวน ไว้ดังนี้

?

1.)???????????? ต้องแยกการถามปากคำเด็กดังกล่าวเป็นส่วนสัดในสถานที่ๆ เหมาะสมสำหรับเด็ก

2.)???????????? ต้องจัดให้มีนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ บุคคลที่เด็กร้องขอและพนักงานอัยการเข้าร่วมในการถามปากคำนั้นด้วย

3.)???????????? พนักงานสอบสวนต้องจัดให้มีการบันทึกภาพและเสียงการถามปากคำเด็กทีเป็นผู้เสียหายหรือเป็นพยาน หรือเป็นผู้ต้องหาไว้และสามารถนำออกถ่ายทอดได้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นพยานหลักฐานต่อไป

4.)???????????? ห้ามมิให้ถามเด็กซ้ำซ้อนหลายครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

?

หากไม่ปฏิบัติตามกฎหมายถือว่าไม่มีการสอบสวนในความผิดนั้น พนักงานอัยการจึงไม่มีอำนาจฟ้องเด็กที่กระทำความผิดตาม ป. วิอาญา มาตรา 120 (ฎีกาที่ 4834/2546)

?

?

?

?

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 6

การสอบสวนเด็กจะมีความยุ่งยากหน่อยล่ะคับ เพราะต้องมีการกระทำตามวิธีพิจารณาความอาญาตามมาตรา 133ทวิ มาตรา 134/2 คือ จะต้องมีนักสังคมสงเคราะห์ และอะไรอีกหลายๆ อย่างซึ่งมีความละเอียดอ่อนพอตัวล่ะคับ ถ้าหากไม่ทำตามดังกล่าวแล้วเนี่ย จะทำให้สำนวนการสอบสวนเสียไปหน่ะคับ เลยต้องยุ่งยากนิสนึง จะทำให้ศาลมีการยกฟ้องได้

โดยคุณ ManneR 15 ส.ค. 2553, 03:13

ความคิดเห็นที่ 5

มีน้องชายตอนนี้อยู่ในสถานพินิจโดยศาลเยาวชนเด็กและครอบครัวส่งตัวไปคุมประพฤติที่สถานพินิจ10วัน ก่อนจะตัดสินคดีความ แบบนี้ ศาลทำถูกหรือไม่? และต้องมีบทลงโทษกับเยาวชนอย่างไร? คือน้องชาย อายุ15ปี ถูกจับในคดีร่วมมือกันทำร้ายผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ และที่สำคัญอยากทราบว่าในกรณีนี้คือมีผู้ร่วมมือกระทำความผิดทั้งหมด5คน คือ 3คนเป็นเยาวชน อีก2คนเป็นเด็กอายุ18ปีขึ้นไป ในเมื่อมีคู่กรณีเดียวกัน สถานที่เกิดเหตุเดียวกัน วันและเวลาเดียวกัน ทำไมเด็กที่อายุ18ปี ถึงได้ถูกแค่ศาลจังหวัดสั่ง ปรับเงิน1500 บาท เรื่องก้อจบ แต่ทามไมเยาวชนถึงได้รับผลแตกต่างกันขนาดนี้ แถมยังขึ้นศาลบ่อยมาก เพราะเรื่องนี้เกิดขึ้นตั้งแต่18 ก.ย.52 ช่วยอภิบายกรณีนี้ให้ดิฉันทราบหน่อยเถอะคะ เพราะวันที่10พ.ค.53ศาลจะสั่งตัดสินลงโทษ

อีกอย่าง จำเลยที่1 คือ?

โดยคุณ หญิง 5 พ.ค. 2553, 18:26

ความคิดเห็นที่ 4

นี้คือปัญหาของสังคม

โดยคุณ เอ็ม 10 ก.ย. 2552, 10:09

ความคิดเห็นที่ 3

เยาว์ชนคดีจะโชว์ไหมคับ

แล้วสอบรับราชการได้ไหมคับ

พ.ร.บ.ปี2552 จะมีไหมคับ

โดยคุณ สนามชัย 13 ส.ค. 2552, 20:28

ความคิดเห็นที่ 2

ลูกชายตอนอายุ17ปี มีปัญหาขึ้นศาลเด็กและเยาวชนไม่เห็นมีการแยกให้ปากคำเลยเวลาขึ้นบัลลังก็เห็นหน้าฝ่ายโจทย์และพยานกันทุกคน แถมยังโดนทนายความฝ่ายโจทย์ขู่ให้รับสารภาพสะอีกตอนนี้ยกฟ้อง แต่ทนายฝ่ายโจทย์ขออุทธรณ์คะ

โดยคุณ  (สมาชิก) 11 มี.ค. 2552, 15:15

ตอบความคิดเห็นที่ 2

แก้อุทธรณ์หลังจากได้รับสำเนาอุทธรณ์ภายใน 15 วัน  ส่วนผลคดีจะเป็นอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของศาลอุทธรณ์

โดยคุณ อ.เดชา กิตติวิทยานันท์  13 มี.ค. 2552, 17:33

ความคิดเห็นที่ 1

แก้อุทธรณ์หลังจากได้รับสำเนาอุทธรณ์ภายใน 15 วัน  ส่วนผลคดีจะเป็นอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของศาลอุทธรณ์

โดยคุณ อ.เดชา กิตติวิทยานันท์  13 มี.ค. 2552, 17:33

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก