ได้เงินค่าชดเชยกี่เดือน|ได้เงินค่าชดเชยกี่เดือน

ได้เงินค่าชดเชยกี่เดือน

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ได้เงินค่าชดเชยกี่เดือน

ทำงานประเภท เจ้าหน้าที่ดูแลแมนชั่น/หอพัก..มาได้ประมาณ 30 ปี

บทความวันที่ 26 ก.พ. 2557, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 7668 ครั้ง


ได้เงินค่าชดเชยกี่เดือน

            1.ทำงานประเภท เจ้าหน้าที่ดูแลแมนชั่น/หอพัก..มาได้ประมาณ 30 ปี ...แต่เจ้าของแมนชั่นจะขายตึกให้กับบุคคลอื่น....ฉะนั้นเจ้าของแมนชั่นเขาจึงจะบอกเลิกจ้าง..ข้าพเจ้าจึงขอถาม ดังนี้
           - ข้าพเจ้าจะได้รับเงินชดเชยหรือเปล่า..และถ้าได้เงิน..แล้วจะได้กี่เดือนครับ..
           - และจะได้เงินหรือสิทธิใดเพิ่มตามสิทธิของกระทรวงแรงงาน..
           - แล้วถ้าเจ้าของตึกไม่ได้ให้ตามสิทธิตามความเหมาะสม..ข้าพเจ้าควรจะดำเนินการใดได้บ้าง


คำแนะนำสำนักงานทนายความ  ทนายคลายทุกข์

           1. กรณีที่นายจ้างเลิกจ้างท่านโดยท่านไม่ได้กระทำความผิดใด นายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ท่าน และเมื่อท่านทำงานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป ท่านย่อมมีสิทธิได้รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน ตามพรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 118(5)
          2. หากนายจ้างเลิกจ้างท่านทันทีโดยไม่ได้บอกกล่าวล่วงหน้า นายจ้างก็ต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าให้แก่ท่านตามมาตรา 17 วรรคสามแห่ง พ.ร.บ.ดังกล่าว
         3. ถ้านายจ้างฝ่าฝืนไม่จ่ายหรือไม่ปฏิบัติตามเกี่ยวกับสิทธิที่ท่านจะได้รับเงินดังกล่าวแล้ว ก่อนฟ้องท่านอาจยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานแห่งท้องที่ที่ตนทำงานอยู่หรือที่นายจ้างมีภูมิลำเนาอยู่เพื่อทำการสอบสวนข้อเท็จจริงและมีคำสั่งกับนายจ้างต่อไปตามมาตรา 123,124 ทั้งนี้ เอกสารหลักฐานใดก็ตามที่เกี่ยวข้องในข้อพิพาทนั้น ก็สามารถนำมากล่าวอ้างประกอบเพื่อสนับสนุนข้ออ้างต่อไป
 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก