อบรมสัมมนา/หลักสูตรกฎหมายแรงงานที่หัวหน้างานต้องรู้/ สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย|อบรมสัมมนา/หลักสูตรกฎหมายแรงงานที่หัวหน้างานต้องรู้/ สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย

อบรมสัมมนา/หลักสูตรกฎหมายแรงงานที่หัวหน้างานต้องรู้/ สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

อบรมสัมมนา/หลักสูตรกฎหมายแรงงานที่หัวหน้างานต้องรู้/ สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 เวลา 9.00 – 16.00 น. สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย

บทความวันที่ 30 พ.ย. 2553, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 7525 ครั้ง


อบรมสัมมนา/หลักสูตรกฎหมายแรงงานที่หัวหน้างานต้องรู้/ สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย


          วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 เวลา 9.00 – 16.00 น. สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย ( TMA ) ได้เชิญ อ.เดชา กิตติวิทยานันท์ เป็นวิทยากรฝึกอบรมหลักสูตร กฎหมายแรงงานที่หัวหน้างานต้องรู้  ณ ห้องสัมพันธวงศ์ โรงแรมแกรนด์ไชน่า ปริ๊นเซส  มีผู้เข้ารับการฝึกอบรมสัมมนา จำนวน 39 คน  รายละเอียดหลักสูตรมีดังต่อไปนี้

สัญญาจ้างแรงงาน
- ความหมายของจ้างแรงงาน
- ลักษณะสำคัญของสัญญาจ้างแรงงาน
รูปแบบของสัญญาจ้างแรงงาน
- รูปแบบของสัญญาจ้างแรงงาน
- ควรทำสัญญาจ้างเป็นหนังสือ
- ทะเบียนลูกจ้าง
- ข้อตกลงในสัญญาจ้างแรงงาน
- การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในสัญญาจ้างแรงงาน
นายจ้าง ลูกจ้างและบุคคลที่ต้องร่วมรับผิดกับนายจ้าง
- นายจ้าง
- บุคคลที่ต้องร่วมรับผิดกับนายจ้าง
- ลูกจ้าง
การค้ำประกันการทำงานของลูกจ้าง 
- ความเป็นมาของการเรียกหรือรับหลักประกัน
- ประเภทของการประกัน
- ข้อห้ามเรียกรับหลักประกัน
- ลักษณะหรือสภาพของงานที่เรียกหรือรับหลักประกันได้
- หลักเกณฑ์และวิธีการเรียกรับหลักประกัน
- การคืนหลักประกันและความรับผิด
- อายุความฟ้องให้รับผิดตามหลักประกันการทำงาน
จ้างทดลองงาน
- ความหมาย
- เงื่อนไขและระยะเวลาทดลองงาน
- การคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้างตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
- สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้าง
- สิทธิและหน้าที่ของนายจ้าง
- อายุความฟ้องเรียกร้องสิทธิตามสัญญาจ้าง

การใช้แรงงานหญิง
- งานที่ห้ามไม่ให้ลูกจ้างหญิงทำ
- กำหนดเวลาที่ห้ามไม่ให้ลูกจ้างหญิงทำงาน
- การให้ความคุ้มครองลูกจ้างหญิงที่ตั้งครรภ์
- การคุ้มครองความเสมอภาคระหว่างลูกจ้างหญิงกับชาย
- การคุ้มครองลูกจ้างหญิงจากการถูกล่วงเกินทางเพศ
การใช้แรงงานเด็ก
- ห้ามรับเด็กอายุต่ำกว่า 15  เข้าทำงานเป็นลูกจ้าง
- การรับเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีเข้าทำงานเป็นลูกจ้าง
- เวลาทำงานและเวลาพักของลูกจ้างที่เป็นเยาวชน
- ลักษณะงานและสถานที่ที่ห้ามไม่ให้ลูกจ้างที่เป็นเยาวชนทำ
- การคุ้มครองการจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างที่เป็นเยาวชน
- การลาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการทำงานของลูกจ้างที่เป็นเยาวชน

เวลาทำงานปกติและเวลาพัก
- เวลาทำงานปกติ
- เวลาพัก
วันหยุดและวันลา
1. วันหยุด
o วันหยุดประจำสัปดาห์
o วันหยุดตามประเพณี
o วันหยุดพักผ่อนประจำปี
2. วันลา
o ลาป่วย
o ลาเพื่อทำหมัน
o ลาคลอด
o ลากิจ
o ลารับราชการทหาร
o ลาเพื่อฝึกอบรม
o ลาเพื่อกิจการสหภาพแรงงาน
ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุด
1. ค่าจ้าง
o ความหมายของค่าจ้าง
o ค่าจ้างขั้นต่ำ
o ค่าจ้างในระหว่างปิดกิจการชั่วคราว
o ค่าจ้างในระหว่างนัดหยุดงานและปิดงาน
o ค่าจ้างในวันหยุดและวันลา
o เงินที่นายจ้างต้องจ่ายกรณีพักงานระหว่างสอบสวนความผิด
o เงินที่นายจ้างต้องจ่ายระหว่างพนักงานตรวจแรงงานสั่งให้หยุดกิจการชั่วคราว
2. ค่าล่วงเวลา
o ความหมาย
o ประเภทของค่าล่วงเวลา
o สิทธิของนายจ้างในการให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา
o อัตราค่าล่วงเวลา
o การคำนวณค่าล่วงเวลา
o การตกลงเหมาค่าล่วงเวลารวมกับค่าจ้าง
o ลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา
o อายุความฟ้องเรียกค่าล่วงเวลา
3. ค่าทำงานในวันหยุด
o ความหมาย
o สิทธินายจ้างในการให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุด
o อัตราค่าทำงานในวันหยุด
o ลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุด
4. การจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด
o จ่ายโดยเสมอภาคให้แก่ลูกจ้างชายและหญิง
o จ่ายด้วยเงินตราไทย
o จ่าย ณ สถานที่ที่ลูกจ้างทำงาน
o กำหนดเวลาจ่าย
o ความรับผิดในดอกเบี้ยและเงินเพิ่ม
o การหักค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด
o อายุความฟ้องเรียกค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
1. ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
o นายจ้างที่มีลูกจ้าง 10 คนขึ้นไปต้องมีข้อบังคับฯเป็นหนังสือ
o การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
2. ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
o ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
o องค์ประกอบของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
o ประเภทของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
o ข้อเหมือนและข้อแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดและไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง
o ผลของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
o การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
o ผลผูกพันของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

วินัยและการลงโทษทางวินัย
- ความหมายและวัตถุประสงค์
- ผู้มีอำนาจกำหนดวินัย
- วินัยและการลงโทษปรากฏในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
- ประเภทของวินัย
- ขอบเขตของวินัย
- วินัยที่ดี
- สาเหตุของการฝ่าฝืนวินัย
- โทษทางวินัย
- ขั้นตอนการลงโทษทางวินัย
สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
1. หลักเกณฑ์การบอกกล่าวล่วงหน้า
o การจ้างที่มีกำหนดเวลา เมื่อครบกำหนดสัญญาจ้างสิ้นสุดโดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
o การจ้างที่ไม่มีกำหนดเวลา ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นหนังสือก่อนเลิกจ้าง
2. ข้อยกเว้นไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
3. ดอกเบี้ย การตกลงสละสิทธิและอายุความ

ค่าชดเชย
1. ความหมาย
2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าชดเชย
o ต้องมีการเลิกจ้าง
o ลูกจ้างทำงานติดต่อกันครบ 120 วันขึ้นไป
3. ข้อยกเว้นไม่จ่ายค่าชดเชย
4. อัตราค่าชดเชย
5. การตกลงยกเว้นหรือสละสิทธิเรียกค่าชดเชย ดอกเบี้ยและอายุความ
o การตกลงยกเว้นหรือสละสิทธิ์เรียกค่าชดเชย
o ดอกเบี้ย
o อายุความฟ้องค่าชดเชย
ค่าชดเชยพิเศษ
- ค่าชดเชยพิเศษเนื่องจากการย้ายสถานประกอบกิจการ
- ค่าชดเชยพิเศษเนื่องจากนำเครื่องจักรหรือเทคโนโลยีแทนลูกจ้าง
- อายุความฟ้องร้องเรียกค่าชดเชยพิเศษ
เลิกจ้างไม่เป็นธรรม
1. หลักเกณฑ์เลิกจ้างไม่เป็นธรรม
2. กรณีถือว่าเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
3. กรณีไม่ถือว่าเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
4. เลิกจ้างเป็นธรรมทั้งในเนื้อหาและวิธีพิจารณา
5. ผลของการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
o กรณีให้นายจ้างรับกลับเข้าทำงาน
o กรณีให้นายจ้างใช้ค่าเสียหาย
6. ข้อสังเกตเกี่ยวกับเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
o เลิกจ้างไม่เป็นธรรมกับค่าชดเชย
o ไม่ต้องยื่นคำร้องต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนฟ้อง
o เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
o อาจตกลงสละสิทธิเรียกค่าเสียหายเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
o นายจ้างยกเหตุเลิกจ้างขึ้นอ้างในภายหลังเพื่อต่อสู้คดีได้
o ดอกเบี้ย
o อายุความฟ้องร้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

เปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมซักถาม
สิ้นสุดการฝึกอบรม


ท่านใดสนใจเชิญ อ.เดชา กิตติวิทยานันท์ เป็นวิทยากรฝึกอบรม เทคนิคการทวงหนี้/ ยึดรถ/ กฎหมายแรงงานที่หัวหน้างานต้องรู้ ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ 02-9485700
ภาพบรรยากาศการฝึกอบรมด้านล่างนี้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก