เสียเงินวิ่งเต้นเข้ารับราชการ ไม่ใช่ผู้เสียหายแต่เป็นผู้ร่วมกระทำความผิด|เสียเงินวิ่งเต้นเข้ารับราชการ ไม่ใช่ผู้เสียหายแต่เป็นผู้ร่วมกระทำความผิด

เสียเงินวิ่งเต้นเข้ารับราชการ ไม่ใช่ผู้เสียหายแต่เป็นผู้ร่วมกระทำความผิด

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

เสียเงินวิ่งเต้นเข้ารับราชการ ไม่ใช่ผู้เสียหายแต่เป็นผู้ร่วมกระทำความผิด

  • Defalut Image

เสียเงินวิ่งเต้นเข้ารับราชการ ไม่ใช่ผู้เสียหายแต่เป็นผู้ร่วมกระทำความผิด

บทความวันที่ 17 เม.ย. 2561, 13:53

มีผู้อ่านทั้งหมด 1218 ครั้ง


เสียเงินวิ่งเต้นเข้ารับราชการ ไม่ใช่ผู้เสียหายแต่เป็นผู้ร่วมกระทำความผิด

               พวกชอบวิ่งเต้นให้ลูกหลานเข้าเป็นตำรวจทหาร ควรดูคดีนี้ไว้ เพราะเท่ากับว่า คุณไม่ใช่ผู้เสียหายคุณคือผู้ร่วมกันกระทำความผิดหรือร่วมกันทุจริตนั่นเอง เงินที่เสียไปก็ฟรีศาลยุติธรรมไม่รับดำเนินการให้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2077/2560
              โจทก์มอบเงิน 300,000 บาท ให้แก่จำเลย เพราะจำเลยอ้างว่าจะนำไปให้เจ้าพนักงานตำรวจยศระดับพลตำรวจตรี 2 คน เพื่อช่วยเหลือให้บุตรสาวโจทก์สามารถสอบเข้ารับราชการตำรวจได้ ซึ่งโจทก์ย่อมจะต้องทราบดีว่าบุตรสาวของโจทก์จะเข้ารับราการตำรวจได้ต้องผ่านการสอบคัดเลือก โดยการสอบคัดเลือกเป็นระเบียบแบบแผนของทางราชการที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่มีคุณสมบัติสามารถสมัครสอบได้โดยเสรีและที่สำคัญการจัดการสอบจะต้องยุติธรรมเพื่อที่ทางราชการจะได้คนมีความสามารถ อันจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน หากมีการช่วยเหลือบุคคลใดบุคคลหนึ่งให้สามารถสอบผ่านแสดงว่ามีการกระทำอันเป็นการทุจริต เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ก่อให้จำเลยกระทำความผิด โจทก์จึงมิใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัย ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 2(4) โจทกืไม่มีอำนาจฟ้อง

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก