ข้อกฎหมายเกี่ยวกับคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา|ข้อกฎหมายเกี่ยวกับคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

ข้อกฎหมายเกี่ยวกับคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ข้อกฎหมายเกี่ยวกับคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

  • Defalut Image

1. คำพิพากษาฎีกาที่ 4377/2546

บทความวันที่ 6 มี.ค. 2561, 10:41

มีผู้อ่านทั้งหมด 1615 ครั้ง


ข้อกฎหมายเกี่ยวกับคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา/ทนายคลายทุกข์/ทนายความ

1. คำพิพากษาฎีกาที่ 4377/2546
กรณีใดจะเป็นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาหรือไม่จะต้องปรากฏว่าความรับผิดทางแพ่ง เกิดจากการกระทำความผิดทางอาญาโดยตรงจึงจะถือว่าเป็นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา

2. คำพิพากษาฎีกาที่ 1127/2536
คดีอาญาเป็นเรื่องแจ้งความเท็จ คดีแพ่งเป็นเรื่องฟ้องขอให้การสมรสเป็นโมฆะจึงไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

3. คำพิพากษาฎีกาที่ 2745/2537
คดีอาญาโกงเจ้าหนี้กับ คดีแพ่งเพิกถอนการฉ้อฉลมิใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

4. คำพิพากษาฎีกาที่ 736/2538
การที่ศาลจะวินิจฉัยว่าเป็นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญาหรือไม่ต้องพิจารณาว่าสิทธิ์เรียกร้องทางแพ่งได้ อาศัยมูลความผิดในทางอาญาหรือไม่ คดีแพ่งฟ้องเรื่องปิดบังยักย้ายทรัพย์มรดก ซึ่งมิได้อาศัยมูลคดีอันเกิดจากการกระทำความผิดทางอาญาข้อหา แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จจริงไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1

1.กรรมการอ้างว่าบริษัทยืมเงินกรรมการบริษัทโดยมิได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบและได้เบิกหุ้นชำระหนี่คืนโดยมิได้แจ้งผู้ถือหุ้นพร้อมดอกเบี้ยในจำนวนเกินจริงมาก

2.กรรมการเปิดบัญชีโดยหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษีและเบิกจ่ายบัญชีนั้นเพียงผู่เดียว

โดยคุณ สมชาย โคเจริญโรจน๋ 27 มี.ค. 2561, 08:42

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก