สิ่งที่คู่ความหรือทนายความควรรู้เกี่ยวกับ การอุทธรณ์และการทุเลาการบังคับคดี|สิ่งที่คู่ความหรือทนายความควรรู้เกี่ยวกับ การอุทธรณ์และการทุเลาการบังคับคดี

สิ่งที่คู่ความหรือทนายความควรรู้เกี่ยวกับ การอุทธรณ์และการทุเลาการบังคับคดี

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

สิ่งที่คู่ความหรือทนายความควรรู้เกี่ยวกับ การอุทธรณ์และการทุเลาการบังคับคดี

  • Defalut Image

คำพิพากษาฎีกาที่ 4026/2545

บทความวันที่ 3 ม.ค. 2561, 11:32

มีผู้อ่านทั้งหมด 844 ครั้ง


สิ่งที่คู่ความหรือทนายความควรรู้เกี่ยวกับ การอุทธรณ์และการทุเลาการบังคับคดี

1. คำพิพากษาฎีกาที่ 4026/2545
คำสั่งศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้ขยายระยะเวลาในการยื่นอุทธรณ์น้อยกว่าที่ผู้อุทธรณ์ร้องขอ เป็นอำนาจโดยเฉพาะ ของศาลชั้นต้น อุทธรณ์ไม่ได้

2. คำพิพากษาฎีกาที่ 233/2548
คำสั่งของศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค เรื่องการขอทุเลาการบังคับคดีถือเป็นอำนาจเฉพาะอุทธรณ์ไม่ได้มาเช่นกัน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง
1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4026/2545

การยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23 จะกระทำได้ต่อเมื่อมีพฤติการณ์พิเศษ และศาลจะขยายระยะเวลาให้ตามคำร้องหรือไม่ เป็นดุลพินิจที่จะพิจารณาเป็นเรื่อง ๆ ไป เมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยขยายระยะเวลา แม้จะน้อยกว่าระยะเวลาที่จำเลยขอไป 2 วัน ก็ไม่เป็นเหตุที่จำเลยจะอุทธรณ์ให้ขยายระยะเวลาต่อไปได้อีก
 

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก