คำพิพากษาฎีกาที่ 1714/2539|คำพิพากษาฎีกาที่ 1714/2539

คำพิพากษาฎีกาที่ 1714/2539

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

คำพิพากษาฎีกาที่ 1714/2539

  • Defalut Image

โจทก์ซึ่งเป็นทนายความถูกสภาทนายความจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียน

บทความวันที่ 27 ต.ค. 2560, 11:43

มีผู้อ่านทั้งหมด 2013 ครั้ง


คำพิพากษาฎีกาที่ 1714/2539

             โจทก์ซึ่งเป็นทนายความถูกสภาทนายความจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนตามมาตรา 35 และมาตรา 43  โจทก์ฟ้องสภาทนายความฐานละเมิดและขอคุ้มครองชั่วคราว เพื่อให้เพิกถอนคำสั่งที่อ้างว่าโจทก์ขาดคุณสมบัติในการเป็นทนายความและต่อใบอนุญาตในระหว่างพิจารณาคดีไม่ได้  ถือไม่ได้ว่าเป็นการเปลืองไปเปล่าซึ่งสิทธิของโจทก์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 254 (2)

ตัวบทกฎหมายอ้างอิง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1714/2539 
            จทก์ฟ้องว่าการที่คณะกรรมการของจำเลยที่2มีมติให้โจทก์เป็นผู้ขาดคุณสมบัติที่จะเป็นทนายความและจำหน่ายชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนทนายความเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์อันเป็นประเด็นข้อพิพาทในคดีดังนั้นเมื่อยังไม่มีคำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลว่าการที่คณะกรรมการของจำเลยที่2จำหน่ายชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนทนายความเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์และคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวของโจทก์มีวัตถุประสงค์ที่จะให้จำเลยที่2ต่อใบอนุญาตทนายความให้แก่โจทก์เพื่อให้โจทก์สามารถประกอบอาชีพทนายความได้ต่อไปซึ่งตรงกับคำขอท้ายฟ้องของโจทก์กรณีจึงไม่มีเหตุสมควรและเพียงพอที่จะนำวิธีการคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา254(2)มาคุ้มครองให้แก่โจทก์ทั้งการที่โจทก์ไม่ได้ประกอบอาชีพทนายความก็เรียกไม่ได้ว่าเป็นการเปลืองไปเปล่าซึ่งสิทธิของโจทก์

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก